การ ดาวน์ รถยนต์ – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

สารบัญ

การ ดาวน์ รถยนต์ เป็นข้อมูลที่คุณสนใจค้นหาหรือไม่ เว็บไซต์ของเราจะแนะนำข้อมูลล่าสุดและถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับ การ ดาวน์ รถยนต์ ในบทความนี้!

Contents

Video: ก เอ๋ย ก ไก่ ถึง ฮ นกฮูก ท่อง ก ไก่ เด็ก2ขวบท่อง พัฒนาการเด็ก2ปี7เดือน Thai alphabet from YouTube · Duration: 2 minutes 17 seconds

คุณกำลังดูวิดีโอ ก เอ๋ย ก ไก่ ถึง ฮ นกฮูก ท่อง ก ไก่ เด็ก2ขวบท่อง พัฒนาการเด็ก2ปี7เดือน Thai alphabet from YouTube · Duration: 2 minutes 17 seconds อัปเดตจากช่อง Namo krab จากวันที่ Apr 8, 2020 พร้อมคำอธิบายด้านล่าง

ข้อมูลด้านล่างเกี่ยวกับ การ ดาวน์ รถยนต์:

การมีพาหนะคู่ใจก็เหมือนการเลือกเพื่อนเเท้ร่วมเดินทาง ยิ่งเมื่อเข้าสู่วัยทำงานสองสิ่งสำคัญที่หลายคนมักเก็บเงินก้อนนั่นก็คือ รถยนต์เเละบ้าน ซึ่งรถยนต์ก็เป็นของชิ้นใหญ่ชิ้นเเรกที่หลายคนเลือกซื้อ เเต่การเลือกซื้อรถยนต์สักคันไม่ใช่เเค่จ่ายเงินดาวน์เเละจ่ายเงินเป็นงวดๆ ไป เเต่ยังมีค่าประกัน ค่าซ่อมรถ ค่าน้ำมัน ค่าทำความสะอาด เเละอื่นๆ อีกมาก เราจึงจะนำข้อมูลในการเลือกซื้อรถเเละขั้นตอนเก็บเงิน สำหรับใครที่กำลังอยากจะซื้อรถค่ะ

ปัจจัยสำคัญในการเลือกซื้อรถ


รถยนต์คือพาหนะหลักเเละเป็นหนี้ก้อนโตหลายปีในเวลาด้วยกัน การเลือกรถจึงต้องคิดให้ถี่ถ้วน เพื่อไม่เกิดปัญหาทีหลังซึ่ง 2 ปัจจัยหลักที่คุณควรตัดสินใจก่อนเลือกซื้อรถคือ

1. ประเภทรถ

ทุกคนมีเป้าหมายในการซื้อรถไม่เหมือนกัน บางคนชอบรถกระบะ จะได้บรรทุกของชิ้นใหญ่ได้ ส่วนบางคนชอบรถเก๋งเพราะขับง่าย หรือบางคนชอบรถครอบครัวเพราะสมาชิกในบ้านเยอะ เมื่อคุณได้รู้ความต้องการของตัวคุณเองเเล้วคุณจะรู้ว่าประเภทรถเเบบไหนที่เหมาะกับคุณ จะได้วางเเผนการเงินได้ถูก

2. ราคา

ราคารถยนต์ เป็นปัจจัยสำคัญที่จะบอกว่าคุณต้องเก็บเงินเท่าไหร่ เเละเเต่ละเดือนต้องเสียอะไรบ้าง โดยเมื่อคุณทราบราคาที่จ่ายไหวเเละประเภทของรถยนต์เเล้ว คุณสามารถนั่งไล่ดูรถเเต่ละเเบรนด์ได้ว่าดีไซน์เเบบไหนที่ถูกใจ ถัดมาก็จะเป็นเรื่องการผ่อน ถือเป็นหนี้สินระยะยาวประมาณ 5-7 ปี คุณจึงต้องจัดสรรค่ารถเเละค่าใช้จ่ายในชีวิตให้สมดุลกัน

ค่าใช้จ่ายเมื่อจะซื้อรถ 1 คัน


ก่อนที่คุณจะซื้อรถยนต์ คุณควรทราบถึงค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นเมื่อซื้อรถยนต์ 1 คัน เพราะไม่ได้มีเเค่เงินดาวน์กับผ่อนรถเท่านั้น เราจึงนำ 6 ค่าใช้จ่ายหลักที่คุณจะต้องเสียเเน่นอน เพื่อให้คุณได้จัดสรรเงินได้อย่างถูกต้อง

1. เงินดาวน์

เงินดาวน์คือเงินก้อนเเรกสำหรับซื้อรถยนต์ ยิ่งดาวน์มากก็ยิ่งผ่อนน้อย ส่วนใครดาวน์น้อยก็ยิ่งผ่อนนานเเถมจะโดนดอกเบี้ยในอัตราที่สูงเล่นงานอีก ซึ่งจริงๆ เเล้วเงินผ่อนควรอยู่ที่ 20-25% ของรายได้ทั้งหมดเพื่อให้การเงินของคุณยังมีสภาพคล่องอยู่ มิฉะนั้นรถยนต์จะเป็นภาระชั้นดีนานถึง 7 ปีเลยทีเดียว

2. ค่าผ่อนรถ

ค่าผ่อนรถเเต่ละท่านไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับเงินดาวน์เเละราคารถ ตัวอย่าง รถยนต์ราคา 500,000 ดาวน์ได้อัตราดอกเบี้ยที่ 3% ระยะเวลาการผ่อน 5 ปี ดาวน์รถที่ 100,000 บาท เเสดงว่าเหลืออีก 400,000 บาทซึ่งค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นมีดังนี้
 

3. ค่าน้ำมัน

ค่าใช้จ่ายส่วนนี้สามารถชดเชยกับค่าเดินทางที่คุณเคยเสียไปซึ่งตกเดือนละ 3,000-4,000 บาท ยังไม่ร่วมค่าทางด่วน ค่าที่จอดรถต่างๆ ที่คุณจะต้องเสียในเเต่ละวัน

4. ค่าต่อทะเบียน

เหมือนภาษีรถยนต์ที่ต้องจ่ายทุกปี เป็นค่าใช้จ่ายภาคบังคับตามกฎหมาย ราคาขึ้นอยู่กับขนาดเเละอายุของรถยนต์

5. ค่าบำรุงรักษา

รถก็เหมือนบ้านที่ต้องเจอความสกปรกในเเต่ละวัน เผลอๆ อาจจะต้องปัดกวาดเช็ดถูมากกว่าบ้านด้วยซ้ำ ไม่ว่าคุณจะให้ร้านหรือทำความสะอาดเองก็ต้องมีใช้จ่ายเพิ่มขึ้นอยู่ดี

6. ค่าประกันรถยนต์

แม้กฎหมายจะไม่ได้บังคับให้ทุกคนที่มีรถยนต์ทำประกัน แต่การทำประกันรถยนต์ก็ยังถือเป็นเรื่องที่ไม่ควรละเลย เพราะเมื่อเกิดอุบัติเหตุอะไรขึ้นกับรถ ประกันรถยนต์สามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายได้มากถึง 100% ถือเป็นการประหยัดเงินจากเหตุไม่คาดฝันได้ ดังนั้น จึงแนะนำว่า เมื่อจะซื้อรถ ก็ควรเผื่อเงินค่าประกันรถยนต์ไว้ด้วย

7 วิธีการเก็บเงินซื้อรถ


เห็นค่าใช้จ่ายในการซื้อรถยนต์เเล้ว เชื่อว่าหลายท่านคงต้องกลับมาวางเเผนการเงินกันใหม่ ว่าเงินที่มีอยู่เพียงพอหรือยัง เพราะในการเลือกซื้อรถยนต์ถ้าคุณซื้อเงินสด ภาระต่างๆ ของคุณก็คงเหลือเเค่ค่าดูเเลรถยนต์ ประกันต่างๆ เเต่ถ้าเกิดการผ่อนชำระจะเกิดค่างวดเพิ่มขึ้นมา ยิ่งคุณใช้เวลาผ่อนชำระนานดอกเบี้ยก็จะเยอะ เราจึงจะมาบอกขั้นตอนการเก็บเงินทั้งเงินดาวน์เงินผ่อน เพื่อซื้อรถยนต์ที่ถูกต้องมาให้ทุกคนได้นำไปใช้กันค่ะ

1. หัก 10% ออกทุกเดือน

วิธีนี้เหมาะสำหรับมนุษย์เดือน เมื่อเงินออกปุ๊ปก็หัก 10% เข้าบัญชีเเยกไว้ห้ามถอนออกมาใช้ซึ่งเป็นวิธีการเก็บก่อนใช้อีกเเบบ ที่ช่วยให้คุณเก็บเงินซื้อรถได้เร็วขึ้นเเละจะส่งผลดีในระยะยาวเพราะครั้งเเรกที่คุณจ่าย จะเป็นค่าเงินดาวน์ที่ถูกหักจาก 10% มาหลายๆ เดือนเเละเมื่อคุณได้รถเเล้ว ก็นำเงิน 10% นี้มาเป็นค่างวดเเทน นอกจากช่วยให้คุณได้รถแล้วยังสร้างนิสัยการเก็บเงินให้คุณอีกด้วย

2. ออมเท่าค่างวด

วิธีนี้เป็นเหมือนการหักดิบสำหรับคนที่ยังคุมค่าใช้จ่ายไม่ได้ โดยการให้เดินเข้าไปในสนามผ่อนรถก่อนผ่อนจริงซะเลย ในเมื่อคุณทราบเเล้วว่าเดือนนึงค่าผ่อนรถในฝันจะต้องจ่ายเท่าไหร่ งั้นลองเสียก่อนจะได้ผ่อนจริงนอกจากจะได้เงินเก็บสำหรับซื้อรถเเล้วยังคอยเตือนคุณว่าจริงๆ เเล้วรายได้ที่คุณมีสามารถผ่อนรถในฝันของคุณได้จริงหรือเปล่า

3. เก็บเเบงค์ 50

วิธีพื้นฐานที่สำเร็จมานักต่อนัก เพราะวันนึงคุณไม่ได้เจอเเบงค์ 50 ทุกวัน การเก็บแบงค์ 50 อาจทำให้การเก็บเงินเป็นเรื่องง่ายก็เเค่ไม่ใช้เเบงค์นี้ พอครบเดือนคุณนำเเบงค์ 50 มารวมกันคุณจะพบว่า 50 บาท สามารถต่อยอดเป็นหลักพันได้และเงินจำนวนนี้สามารถช่วยคุณจ่ายค่างวดรถได้สบายมากขึ้น

4. เก็บเท่าใช้

เพราะยิ่งใช้มากคุณจะยิ่งเก็บน้อยลง เเต่ถ้าคุณใช้เท่ากับเก็บหละ หากจ่ายออกไปเยอะคุณก็มีเงินเก็บเยอะขึ้นเช่นกัน วิธีนี้จะช่วยให้เห็นภาพรวมของรายจ่ายต่อเดือนของคุณด้วยและเป็นอีกข้อดีที่ช่วยให้เห็นความสำคัญของเงินมากขึ้น

5. ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น

วิธีนี้เป็นสิ่งที่ทุกคนควรทำ ของบางอย่างที่อยากได้ต้องถามตัวคุณเองก่อนว่าสำคัญมั้ย ถ้าสำคัญจำเป็นคุณสามารถซื้อได้เลย เเต่ถ้าใจคุณอยากได้อย่างเดียวไม่ใช่ของจำเป็นเเละไม่เกิดการยับยั้งชั่งใจไว้ ก็เป็นเรื่องยากที่คุณจะจ่ายค่างวดรถได้อย่างสบายใจไม่กระทบการใช้เงินในชีวิต

6. ลงทุนในกองทุนรวม

เหมาะสำหรับเงินดาวน์ โดยผู้เริ่มต้นเเนะนำให้ซื้อ

กองทุนตลาดเงินหรือตราสารหนี้

เพราะความเสี่ยงปานกลางค่อนข้างต่ำ ทางเลือกการลงทุนที่ให้ผลตอบเเทนที่สูงกว่าเงินฝาก หากกังวลว่าไม่ถนัดด้านลงทุนเเนะนำให้นำเงินไปฝาก

บัญชีฝากประจำปลอดภาษี

เพื่อจะช่วยให้คุณได้เงินก้อนที่ตั้งใจไว้

7. ฝากเงินประจำระยะสั้น

ถ้าคุณลองมาหมดทุกวิธีเเล้วเเต่ยังไงก็เก็บไม่ได้ เเนะนำให้ธนาคารเก็บให้ โดยเป็นการฝากประจำระยะสั้น บางธนาคารจะมีเงินขั้นต่ำกำหนดไว้ จะช่วยให้คุณมีกรอบระเบียบในการเก็บเงินมากขึ้น โดยกรุงศรีเองก็มีบัญชีเงิน

ออมทรัพย์มีแต่ได้

ที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่าเงินฝากประจำแบบธรรมดา เพียงฝากเงินทุกเดือน จำนวนเท่ากับที่ฝากเดือนแรกติดต่อกัน 6 เดือน คุณก็จะได้รับดอกเบี้ยพิเศษสูงถึง 0.50% ซึ่งถือเป็นวิธีกระตุ้นให้คุณอยากออมเงินมากขึ้นและสร้างวินัยการออมที่เข้มแข็ง
 
การจะมีรถยนต์สักหนึ่งคันคงไม่ยาก ถ้าหากคุณจัดระบบการเก็บเงินที่ดีซึ่งเเผนเเต่ละคนมีไม่เหมือนกัน เช่น บางคนซื้อสดเลยเพราะไม่อยากมีภาระ บางคนเลือกจะผ่อนนานถึงเเม้จะเสียดอกเบี้ยสูงเเต่ก็เต็มใจเพราะสะดวกสบายไม่ต้องหาเงินก้อนเยอะๆ และบางคนเลือกจะจะดาวน์สูงๆ ผ่อนสบายเสียดอกเบี้ยไม่มาก ซึ่งวิธีเก็บเงินซื้อรถทั้งหมดเป็นคำเเนะนำให้ทุกคนได้เก็บเงินซื้อรถกัน จะได้ไม่ต้องกังวลเรื่องภาระที่จะตามมาหลังจากมีรถหนึ่งคัน นอกจากนี้กรุงศรีมี

ให้บริการสินเชื่อ เช่าซื้อรถยนต์

เพื่อให้คุณมีรถยนต์ในฝันกับการเงินที่ดีไปพร้อมๆ กัน
 

ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ 7 วิธีการเก็บเงินซื้อรถที่ถูกต้อง…

1. รายจ่ายประจำ


เป็นรายจ่ายที่เราต้องจ่ายทุกเดือนหรือทุกปี

ค่าผ่อนรถรายเดือน เป็นรายจ่ายก้อนใหญ่ที่เราจะต้องจ่ายทุกเดือนและหักเงินดาวน์รถออกไปแล้ว จำนวนเงินผ่อนในแต่ละเดือนนั้นจะคิดแบบอัตราดอกเบี้ยคงที่ คือ เงินต้นรวมกับดอกเบี้ยรถใหม่แล้วหารจำนวนเดือนที่จะผ่อน อย่าพึ่งมึนกับตัวเลขเพราะตอนนี้มีโปรแกรมช่วยเราคิดให้แล้ว

ตัวอย่าง เราต้องการซื้อรถคันใหม่ราคา 600,000 บาท มีเงินดาวน์รถ 300,000 บาท ผ่อน 60 เดือน อัตราดอกเบี้ย 5% เราก็ใส่ตัวเลขลงในโปรแกรมแล้วกด “เริ่มคำนวณ” ข้างล่างจะเป็นตัวเลขยอดจัดเช่าซื้อ (กู้ยืมเงิน) 300,000 บาท ผ่อน 60 เดือน ๆ ละ 6,250 บาท

คำนวณได้ที่: เครื่องมือคำนวณสินเชื่อรถยนต์

ช่วงนี้หลายคนอาจจะเห็นโปรโมชัน “ดาวน์น้อยผ่อนนาน” มาเป็นตัวกระตุ้นให้เราอยากซื้อรถ เพราะวางเงินดาวน์รถและจ่ายรายเดือนน้อย ๆ ก็ได้รถมาขับแล้ว แต่ใจเย็น ๆ ก่อนนะคะ ลองดูตัวเลขในตารางข้างล่างนี้เราจะเห็นความน่ากลัวของดอกเบี้ยจ่ายทั้งหมด (ตัวสีแดง)

จากตัวอย่างเดิม : เปรียบเทียบการเช่าซื้อ (กู้ยืมเงิน) มากและน้อย โดยใช้เวลาผ่อน 60 เดือน  

ถ้าใช้เงินดาวน์รถ 300,000 บาทและเช่าซื้อ (น้อย) 300,000 บาท เราเสียดอกเบี้ยทั้งหมด 75,000 บาท

ถ้าใช้เงินดาวน์รถ 50,000 บาทและเช่าซื้อ (มาก) 550,000 บาท เราเสียดอกเบี้ยทั้งหมด 137,540 บาท

ความคุ้มค่าของรถญี่ปุ่นมีตั้งแต่การช่วยประหยัดน้ำมันมากที่สุด หรือใช้เครื่องยนต์ดีที่สุด อย่างรถ Mitsubishi Lancer หรือรถสปอร์ตนิสสันรุ่น GT-R ที่ใช้เครื่องยนต์แรงและดีระดับโลก อีกตัวอย่างหนึ่ง คือ ระบบเซนเซอร์ป้องกันการชนของโตโยต้า (Toyota Safety Sense) ที่มีเซนเซอร์ไวและแม่นยำ โดยใช้เซนเซอร์ถึง 2 ระบบ เพื่อสามารถให้เซนเซอร์ทำงานได้ทุกสถานการณ์ ไม่ว่าจะเป็นยามอากาศไม่ดีหรือยามค่ำคืน

การเปรียบเทียบนี้จะทำให้รู้ว่า จากโปรโมชันที่ค่ายรถยนต์ออกมายั่วยวนใจเรานั้น ตอนแรกเราอาจจะรู้สึกดีที่ผ่อนจ่ายรายเดือนรวมกับดอกเบี้ยรถใหม่แล้วเป็นเงินเล็ก ๆ น้อย ๆ แต่ความจริงแล้วเราควรดูภาพรวมว่า เราเสียเงินทั้งหมดเท่าไหร่ จะได้วางแผนการซื้อว่า จะใส่เงินดาวน์รถน้อยหรือมาก ผ่อนจ่ายสั้นหรือยาว

  • รถทุกคันจะต้องมี พ.ร.บ. ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายที่ต้องจ่ายทุกปี เป็นการทำประกันภัยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 จ่ายปีละ 600 บาท
  • รายจ่ายค่าต่อทะเบียน ค่าภาษีรถยนต์เป็นรายจ่ายที่จะต้องจ่ายทุกปี โดยมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ย 1,500-6,000 บาทต่อปี ขึ้นอยู่กับขนาดรถ ถ้ารถขนาดใหญ่ต้องเสียภาษีแพงขึ้น
  • ประกันภัยรถยนต์ เป็นการโอนความเสี่ยงให้กับบริษัทประกันภัยรับผิดชอบ โดยมีให้เลือกประกันชั้น 1-3 ซึ่งรายละเอียดนั้นขึ้นอยู่กับโปรโมชันของแต่ละบริษัท ยิ่งรถมีราคาแพง ค่าเบี้ยประกันก็แพงเช่นกัน (จากตัวอย่างราคารถยนต์ 600,000 บาท ค่าเบี้ยประกันชั้น 1 ประมาณปีละ 15,000 บาท)
  • ค่าเชื้อเพลิง (ค่าน้ำมัน, ค่าแก๊ส) ขึ้นอยู่กับราคาน้ำมันในขณะนั้นและลักษณะการใช้งาน ซึ่งส่วนใหญ่จะเฉลี่ยอยู่ที่ 3,000 บาทต่อเดือน

2. รายจ่ายทั่วไป


นอกจากเงินดาวน์รถและเงินผ่อนรวมกับดอกเบี้ยรถใหม่ที่เราต้องจ่ายเป็นประจำทุกเดือนแล้ว ยังมีค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษารถ ตกแต่งและอำนวยความสะดวกในการเดินทางต่าง ๆ เช่น ค่าเปลี่ยนยาง (ทุก 2 ปี หรือ 50,000 กิโลเมตร) เข้าศูนย์ตรวจสภาพรถยนต์ ค่าที่จอดรถ (ในห้างสรรพสินค้า, ออฟฟิศใจกลางเมือง) ค่าทางด่วน ค่าล้างรถ ค่าตกแต่งรถ ค่าปรับที่ทำผิดกฎจราจร เป็นต้น

เราจะผ่อนรถไหวไหม?

เมื่อเราเห็นตัวเลขค่าใช้จ่ายในการผ่อนรถแล้ว บางครั้งเกิดความรู้สึกว่าเราจะผ่อนไหวไหม เพราะมันต้องผ่อนต่อเนื่องกันหลายปี ทั้งเงินต้นและดอกเบี้ยรถใหม่ ถ้าอยากรู้ก็ต้องทดลองด้วยการ “ซ้อมออมเงิน” เราประมาณยอดหนี้คร่าว ๆ ว่าจะต้องจ่ายเดือนละเท่าไหร่ก็ซ้อมออมเท่านั้น เพื่อจะได้รู้ว่าตนเองจะปรับลักษณะการใช้ชีวิตให้เข้ากับจำนวนเงินที่น้อยลงได้หรือไม่ จะได้ไม่ต้องผ่อนจริงเจ็บจริง

ตัวอย่างเดิม: เราจะซื้อรถคันใหม่ราคา 600,000 บาท เช่าซื้อ (กู้เงินมาซื้อ) 300,000 บาท ผ่อน 60 เดือน อัตราดอกเบี้ย 5% ประมาณค่าใช้จ่ายรายเดือนเท่าไหร่

  • ผ่อนเดือนละ 6,250 บาท รวมดอกเบี้ยรถใหม่เข้าไปแล้ว
  • ค่าน้ำมันเดือนละ 3,000 บาท
  • ค่า พ.ร.บ. + ค่าต่อทะเบียน + ค่าประกันภัยรถยนต์ จ่ายรายปีแต่เราเฉลี่ยเก็บรายเดือน เดือนละ 1,450 บาท

รวม: ประมาณค่าใช้จ่ายรายเดือน คือ 10,700 บาท (ยังไม่รวมรายจ่ายทั่วไป)

เราแยกบัญชีซ้อมออมเงินไว้ต่างหาก อาจจะเป็น “บัญชีออมทรัพย์ดอกเบี้ยสูง” เมื่อเงินเดือนเข้ามาปุ๊บก็สั่งโอนไปเก็บที่บัญชีนี้ทันทีเดือนละ 10,700 บาท สมมติว่าเราใช้เวลาซ้อม 1 ปีถึงจะปรับตัวกับเงินที่ใช้น้อยลงได้ ค่อยตัดสินใจซื้อรถ

การซ้อมออมเงินได้ประโยชน์ 2 เด้ง คือคือ

  • เด้งที่ 1 เรามีเงินไปดาวน์รถเพิ่มขึ้น 10,700 x 12 = 128,400 บาท ทำให้เรากู้ยืมเงินน้อยลง และเสียดอกเบี้ยลดลงด้วย
  • เด้งที่ 2 เวลา 1 ปีผ่านไป ราคารถที่เราอยากได้มันจะมีราคาลดลง ทำให้เราประหยัดเงินมากขึ้นอีกด้วย

เมื่อเราจำเป็นจะต้องซื้อรถ นอกจากหาข้อมูลของรถแล้วยังจะต้องประมาณค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกิดขึ้นด้วย เพื่อจะได้วางแผนการซื้อและซ้อมออมเงินเพื่อดาวน์รถ ผ่อนรถ ปรับวิธีการใช้ชีวิต และเตรียมความพร้อมก่อนการสร้างหนี้จริง

ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ คำนวณค่าใช้จ่ายและดอกเบี้ยรถใหม่สำหรับเจ้าของรถ…


รู้จักการ ‘วางเงินดาวน์’ สำหรับการผ่อนรถครั้งแรก

สินค้าชิ้นใหญ่ชิ้นแรกๆ ในชีวิตของคนส่วนใหญ่ก็คงจะเป็นรถยนต์ ซึ่งราคาก็ค่อนข้างใหญ่ตามตัวของมันตั้งแต่หลักแสนไปจนถึงหลักล้าน ใครที่หน้าที่การงานดีหรือมีเงินถุงเงินถังก็คงเลือกที่จะ “ซื้อสด” ได้ไม่ยาก แต่สำหรับคนทั่วไปอย่างเราๆ การจะเก็บหอมรอมริบเพื่อซื้อรถทีเดียวก็ดูจะเป็นเรื่องที่ไกลตัวมากๆ แต่สถาบันการเงินก็มีทางเลือกสำหรับการ “ซื้อผ่อน” ให้คนอย่างเราๆ เหมือนกัน

แต่การซื้อผ่อนของรถยนต์ไม่ได้เหมือนกับการรูดบัตรเครดิตผ่อนสินค้าทั่วๆ ไป ที่เมื่อวงเงินเราถึงก็จัดการแบ่งจ่ายเป็นงวดๆ แล้วเสียดอกเบี้ยตามแต่ละบัตร แต่เป็นการวางเงินดาวน์ไว้ส่วนหนึ่งของราคารถและนำส่วนที่เหลือไปกู้เงินจากทางสถาบันการเงิน (บริษัทไฟแนนซ์) แทน ซึ่งอย่างตัวผู้เขียนที่ไม่ได้ศึกษาเรื่องการวางเงินดาวน์มาก่อนก็เริ่มต้นไม่ถูกเหมือนกัน บทความนี้เลยขอมาอธิบายเป็นขั้นตอนไปสำหรับคนที่สนใจให้เข้าใจเรื่องการดาวน์รถกันมากขึ้น มาดูกันเลย

วางเงินดาวน์ และจัดไฟแนนซ์

วางเงินดาวน์และจัดไฟแนนซ์เป็นค่าใช้จ่าย 2 ส่วนสำหรับการซื้อผ่อนรถยนต์ โดยเงินดาวน์จะเป็นเงินก้อนหนึ่งของราคารถ (นิยมวาง 25% ของราคารถ) และค่าใช้จ่ายส่วนที่เหลือจะถูกนำไปกู้กับทางสถาบันการเงิน (ไฟแนนซ์) ที่จะถูกแบ่งจ่ายออกเป็นงวดๆ ตามตกลง และคิดดอกเบี้ยตามระยะเวลาที่ทำการกู้เงินที่เรียกว่ายอดจัดไฟแนนซ์

ราคารถยนต์
เงินดาวน์ ยอดจัดไฟแนนซ์ (แบ่งจ่ายเป็นงวด)

วางเงินดาวน์เท่าไหร่ดี?

เราสามารถวางเงินดาวน์ได้มากหรือน้อยตามกำลังทรัพย์ของเราไม่มีกำหนดตายตัวว่าต้องมากกว่าหรือไม่เกินกี่เปอร์เซ็นต์ของราคารถ แต่ลักษณะจะเป็นการยื่นข้อเสนอเจรจาระหว่างเรากับทางไฟแนนซ์มากกว่า หากวางเงินดาวน์น้อยไปไฟแนนซ์ก็จะมองว่าเราอาจจะจ่ายหนี้ไม่ไหว หรือหากวางสูงเกินไปดอกเบี้ยก็จะถูกไม่คุ้มค่าดำเนินการและถูกปฏิเสธเอาได้

ในเบื้องต้นคือเราควรมีเงินก้อนไว้สำหรับดาวน์รถ 25% ของราคารถ (ถ้ารถราคา 500,000 บาท เงินดาวน์ก็จะอยู่ที่ 125,000 บาท) ซึ่งยิ่งเราวางดาวน์ได้สูง ภาระต่อเดือนในการจ่ายค่างวดรวมทั้งดอกเบี้ยก็จะลดลงอีกด้วย ถ้าอยากวางดาวน์สูงๆ ก็ต้องลองคุยกับพนักงานขายรถ (เซลล์ขายรถ) หรือไฟแนนซ์ดู

สำหรับคนที่มีความจำเป็นที่ต้องวางดาวน์น้อยกว่า 25% จริงๆ ก็ต้องไปดูที่โปรโมชั่นของผู้จำหน่ายในแต่ละแบรนด์ที่ให้วางดาวน์ 10 – 15% หรือ 0% ก็มี แต่ก็จะต้องแลกกับดอกเบี้ยที่สูงมากและการผ่อนที่ยาวนานกว่า

ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ การวางเงินดาวน์รถใหม่ ต้องใช้อะไรบ้าง เรื่องที่มือใหม่ผ่อนรถยนต์ต้องรู้ !…

1.แบล็กลิสต์ ถ้าติดก็ปิดก่อน

ก่อนจะหารถตามสเป็ค เช็คตัวเองก่อน ว่ามีประวัติเสียในเครดิตบูโรหรือเปล่า เช่น เคยผิดนัดชำระหนี้บัตรเครดิต เพราะถ้ามีจะต้องทำเรื่องปิดให้เรียบร้อยก่อน และทิ้งระยะเวลาให้นานกว่า 2 ปี จึงจะเริ่มผ่อนรถได้ แนะนำ! ถ้าอยากซื้อเลย ต้องนำใบปิดเรื่องมายื่นกับไฟแนนซ์ และวางเงินดาวน์ก้อนใหญ่ประมาณ 40% ขึ้นไป โดยไฟแนนซ์จะพิจารณาเป็นกรณีไปแล้วแต่ความรุนแรง

2.เตรียมเอกสาร แบบมืออาชีพ

ถ้าไม่มีประวัติหรือปิดเรียบร้อยแล้ว ก็เริ่มเตรียมเอกสารสำคัญได้เลยโดยเราขอแยกชุดเอกสาร สำหรับพนักงานประจำ และ อาชีพอิสระ ดังนี้

พนักงานประจำ
– สำเนาบัตรประชาชน และ สำเนาทะเบียนบ้าน อย่างละ 3 ใบ
– สลิปเงินเดือน (สลิปคาร์บอน) ย้อนหลัง 6 เดือน หากไม่มี ให้ใช้ใบรับรองเงินเดือน
– สมุดบัญชีเงินเดือน ย้อนหลัง 6 เดือน เพื่อดูความสามารถในการชำระหนี้
หากไม่ค่อยได้อัพบุ๊ค สามารถใช้ Statement (ย้อนหลัง 6 เดือน) ที่ขอจากธนาคารได้เช่นกัน

อาชีพอิสระ (เช่น ค้าขาย)
– สำเนาบัตรประชาชน และ สำเนาทะเบียนบ้าน อย่างละ 3 ใบ (ข้อนี้เหมือนพนง.ประจำ)
– ใบเสร็จ ใบส่งของ หลักฐานการซื้อขายทุกอย่าง ต้องเก็บไว้ยื่นไฟแนนซ์ ยิ่งครบ ยิ่งผ่านง่าย
– รูปถ่ายหน้าร้าน พร้อมใบเสร็จค่าเช่าที่ หรือ ภาพเพจ Facebook, IG หากขายของทางออนไลน์
– Statement หรือ รายการเดินบัญชีย้อนหลัง 1 ปี เพื่อแสดงฐานรายได้ที่มั่นคง

แนะนำ! ควรมีรายรับก้อนใหญ่เข้าทุกเดือน และมีรายได้เล็กๆน้อยๆ สม่ำเสมอทุกสัปดาห์ ข้อควรระวังคือ เมื่อมีเงินเข้า อย่าเพิ่งถอนออกจนหมดทันที ให้ทยอยถอนใช้ทีละนิดในวันอื่น และเหลือเงินคงค้างติดบัญชีไว้ประมาณ 10% จะดูน่าเชื่อถือที่สุด

ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ ผ่อนรถมือหนึ่ง ต้องคำนึงถึง 4 สิ่งนี้ – Sunday Blog…

ศึกษาวิธีการผ่อนรถ

ข้อควรรู้เบื้องต้นคือ เราควรมีเงินดาวน์รถยนต์ประมาณ 25% ของราคารถที่จะซื้อ ไม่เช่นนั้น ทางบริษัทไฟแนนซ์หรือสถาบันการเงินจะไม่อนุมัติการผ่อนชำระ และอีกกรณีหนึ่งคือ ถ้าผู้ที่มีรายได้ต่อเดือนน้อยหรือมีเงินเดือนไม่ถึงหลักหมื่นบาท ก็อาจจะถูกปฏิเสธการผ่อนชำระได้เช่นกัน สาเหตุคือ ค่าผ่อนอาจจะสูงเกินไปเมื่อเทียบกับรายได้ต่อเดือน

ซึ่งวิธีการคำนวณดอกเบี้ยเงินกู้สำหรับรถยนต์นั้น จะเป็นวิธีการคิดแบบ “Flat Rate” หรือ ดอกเบี้ยคงที่ คือการรวมเงินต้นและดอกเบี้ยเข้าด้วยกัน และแบ่งเป็นงวดๆ ให้เราจ่ายจำนวนนี้ไปแต่ละงวด

ตัวอย่าง ถ้าเราจะซื้อรถราคา 500,000 บาท เราวางดาวน์ไว้ 150,000 บาท จะต้องกู้เพิ่ม 350,000 บาท ดอกเบี้ย 5% ต่อปี ระยะเวลา 4 ปี (หรือ 4 งวด)

แสดงว่าเราต้องเสียดอกเบี้ยเป็นจำนวน 350,000*5% = 17,500 บาทต่อปี

ระยะ 4 ปี เราต้องจ่ายดอกเบี้ยทั้งหมด 17,500*4 = 70,000 บาท

ทำให้เราเป็นหนี้ธนาคารทั้งหมด 350,000+70,000 = 420,000 บาท 

ซึ่งเราต้องจ่ายปีละ 105,000 บาทต่อปี หรือ 8,750 บาทต่อเดือน

ข้อควรรู้อีกข้อ คือ การผ่อนรถไม่เหมือนกับการผ่อนบ้าน เพราะการผ่อนรถเป็นการชำระตายตัว มีการคิดดอกเบี้ยที่ต้องจ่ายล่วงหน้าไว้แล้ว นั่นก็คือ เรายังต้องจ่ายทั้งหมด 420,000 บาทอยู่ดี ถึงแม้ว่าเราจะมีเงินมาโปะยอดค้างทั้งหมด และหวังว่าจะไม่ต้องจ่ายดอกเบี้ยในงวดต่อไปเพราะเราชำระหนี้ค้างไว้หมดแล้ว ซึ่งกรณีนี้จะเหมือนการผ่อนบ้านที่คิดแบบดอกเบี้ยแบบลดต้นลดดอก หรือ Effective Rate ซึ่งถ้าเราสามารถจ่ายยอดค้างได้ทั้งหมดก่อนการชำระงวดต่อไป เราก็ไม่มีความจำเป็นต้องจ่ายดอกเบี้ยในอนาคตแล้ว หมายความว่า ถ้าเป็นการผ่อนบ้าน ยิ่งเราสามารถผ่อนได้เร็วขึ้น เรายิ่งลดค่าใช้จ่ายเรื่องดอกเบี้ยได้มากยิ่งขึ้น 

และที่สำคัญคือ ในกรณีที่เราค้างค่างวดเป็นเวลา 3 เดือนติดต่อกัน เพราะเรามีปัญหาหมุนเงินไม่ทัน ผ่อนรถต่อไม่ไหวแล้ว ทางฝ่ายไฟแนนซ์จะเข้ามาติดต่อเพื่อหาทางออกเรื่องการค้างชำระ แต่ถ้าภายใน 30 วันยังไม่สามารถตกลงได้ ผลลัพธ์คือ เราจะต้องโดนยึดรถนั่นเอง แต่เรื่องไม่จบเพียงแค่นี้เท่านั้น เพราะหลังจากการยึดรถ ไฟแนนซ์จะนำรถนั้นไปขายทอดตลาด และหากราคารถที่ถูกขายได้น้อยกว่าจำนวนเงินที่เราค้างชำระ ทางไฟแนนซ์ก็จะตามค่าส่วนต่างกับเรากับอยู่ดี ทางที่ดี เราควรจ่ายค่างวดให้ครบและตรงเวลาในทุกๆ เดือนเพื่อลดปัญหาที่จะตามมาภายหลัง และต้องคิดดีๆ ว่าที่เรากู้เงินไปซื้อรถ ‘เราสามารถผ่อนไหวไหม?’

ดังนั้น เราสามารถสรุปได้ว่า ยิ่งเราวางเงินดาวน์น้อย และระยะผ่อนนาน ดอกเบี้ยที่เราจะต้องจ่ายก็ยิ่งสูง ฉะนั้น ถ้าเรายิ่งสามารถวางเงินดาวน์ไว้สูงเท่าไหร่ และระยะผ่อนสั้น เราก็จะจ่ายดอกเบี้ยน้อยลง และสามารถปลดหนี้ได้เร็วมากยิ่งขึ้น หรือถ้าเรามีเงินสดเพียงพอ ก็ควรซื้อไปเลย เพื่อจะได้ไม่ต้องจ่ายดอกเบี้ยเลย และสามารถลดค่าใช้จ่ายส่วนนี้ได้อีกด้วย

การวางแผนการเงินเพื่อซื้อรถ

หลังจากที่เราศึกษาข้อควรรู้ก่อนซื้อรถยนต์และวิธีการผ่อนรถไปแล้ว เมื่อลองประเมินแบบเร็วๆ เราต้องมีเงินก้อนประมาณ 200,000 บาทเพื่อดาวน์รถ และเงินที่ต้องจ่ายรายเดือนก็อยู่ที่ประมาณ 10,000 กว่าบาท ซึ่งค่าใช้จ่ายนี้ก็แปรผันตามยี่ห้อและรุ่นของรถ ยิ่งรถแพง ค่าใช้จ่ายก็แพงขึ้นตาม

ดังนั้นเพื่อให้เราถึงฝันรถคันแรกนี้ เราก็ควรวางแผนการเงิน แต่ว่าจำนวนเงินมันดูเยอะนะสำหรับมนุษย์เงินเดือนธรรมดาๆ อย่างเรา คำถามในหัวของทุกคนคงจะเป็น ‘เป้าหมายไกลจัง… จะทำได้หรือเปล่านะ?’

เพื่อให้ถึงเป้าหมายของเรา เราก็มีวิธีที่สามารถทำให้เราครอบครองรถคันแรกของเราได้เร็วขึ้น วิธีนั้นก็คือ ‘การลงทุน’ ซึ่งเรามั่นใจว่าวิธีเบื้องต้นสำหรับคนที่อยากมีรถก็คือ การออมเงิน แต่อย่าลืมว่า การออมอย่างเดียว อาจจะทำให้เราสามารถซื้อรถได้ตามต้องการแต่ก็นาน เพราะเงินไม่มีการเติบโตด้วยการเก็บอย่างเดียวหรือโตช้าด้วยดอกเบี้ยธนาคาร แต่ถ้าเราเอาเงินเก็บของเราไปลงทุนด้วย เงินของเราก็จะโตเร็วขึ้นกว่าเดิม เราก็จะถึงเป้าหมายเร็วขึ้นกว่าเดิมด้วย 

ถึงแม้ภาพในหัวของใครหลายๆ คนคงคิดว่า ‘การลงทุนเหรอ… ฟังแล้วลำบากเนอะ’ แต่จริงๆ แล้วการลงทุนไม่ใช่สิ่งที่ยากและลำบากเลย สมัยนี้ตัวช่วยเรามีเยอะแยะ

ขอยกตัวอย่าง แผน GOAL ของ FINNOMENA ที่ถูกสร้างมาสำหรับผู้ที่มีเป้าหมายการลงทุนเพื่อการเก็บเงินก้อน และจะจัดพอร์ตตามวัตุประสงค์ ตามระยะเวลาในการลงทุน และเป้าหมายการลงทุนที่แตกต่างกันไป อย่างเช่น การซื้อรถยนต์ ซื้อบ้าน แต่งงาน มีเงินเกษียณ เป็นต้น โดยเน้นการลงทุนแบบ Dollar Cost Average (DCA) เป็นการทยอยลงทุนสะสมในทุกๆ เดือน ซึ่งความพิเศษของแผน GOAL นี้ ก็คือ Wealth Path ที่ช่วยคำนวณความเป็นไปได้ในการลงทุนผ่านโมเดลทางการเงินที่สามารถพยากรณ์โอกาสทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตว่า ‘ถ้าเรามีเงินลงทุนตั้งต้นอยู่ที่ 50,000 บาท โดยมีเงินลงทุนสะสมทุกเดือนที่ 10,000 บาท ด้วยความเสี่ยงระดับที่เราเลือกต่ำสุด ภายในระยะเวลา 5 ปีที่เรากำหนด เราจะสามารถมีเงินถึงเป้าหมายเราได้หรือไม่ผ่านการลงทุน’

และหากใครกังวลว่า เราต้องนั่งเฝ้าพอร์ตของเราตลอดเวลารึเปล่า? จริงๆ แล้วพอร์ตของเราจะได้รับคำแนะนำและดูแลโดยผู้เชี่ยวชาญตลอดเวลา ดังนั้น ไม่ต้องเป็นห่วง! 

หากใครสนใจรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการลงทุนตามเป้าหมายด้วยแผน GOAL สามารถเข้าไปดูรายละเอียดได้ที่ /goal/ หรือคลิกที่แบนเนอร์ข้างล่างได้เลย


คำเตือน

ผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลสำคัญของกองทุนโดยเฉพาะนโยบายกองทุน ความเสี่ยง และผลการดำเนินงานของกองทุน โดยสามารถขอข้อมูลจากผู้แนะนำก่อนตัดสินใจลงทุน |  ผลการดำเนินงานในอดีตมิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลการดำเนินงานในอนาคต | ผู้ลงทุนอาจมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากการป้องกันความเสี่ยงขึ้นอยู่กับดุลพินิจของผู้จัดการกองทุน

ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ อยากผ่อนรถ ควรรู้อะไรบ้าง? แล้วจะวางแผนเก็บเงินซื้อรถอย่างไรดี? – FINNOMENA…

ศัพท์ควรรู้เบื้องต้นก่อนผ่อนรถ

ก่อนจะถึงการคำนวณค่างวดรถ เงินติดล้อขอบอกก่อนเลยว่าในขั้นตอนการผ่อนจะมีคำศัพท์ยากๆ ที่หลายๆ คนอาจไม่คุ้นเคยมาก่อน เพราะฉะนั้นควรรู้คำศัพท์เบื้องต้นก่อนจะเริ่มผ่อนรถยนต์สักคันกันก่อน

จัดไฟแนนซ์ หมายถึง การขอสินเชื่อจากสถาบันการเงินเพื่อซื้อรถยนต์ในกรณีที่คุณไม่มีเงินก้อนมากพอจะจ่ายเงินเพื่อซื้อรถในคราวเดียว ซึ่งจะเป็นผู้ดำเนินการจ่ายเงินก้อนนี้ให้กับบริษัทรถยนต์ และคุณจะต้องผ่อนชำระให้กับทางสถาบันเงินเป็นงวดๆ ไป

เงินดาวน์ หมายถึง เงินก้อนแรกที่คุณจะต้องจ่ายในการผ่อนรถ ซึ่งส่วนที่เหลือจะผ่อนส่งพร้อมๆ กับดอกเบี้ยเป็นงวดๆ ไปจนครบกำหนด

ยอดจัด หมายถึง ยอดเงินที่คุณจัดยืมจากไฟแนนซ์และต้องผ่อนส่ง เช่น รถยนต์ราคา 500,000 หากคุณวางเงินดาวน์ 100,000 บาท จะมียอดจัดจากไฟแนนซ์ 400,000 นั่นเอง ซึ่งยอดจัดนี้จะเป็นจำนวนเงินที่จะนำมาคำนวณหาดอกเบี้ยที่คุณจะต้องจ่าย

ดอกเบี้ยแบบคงที่ หมายถึง ดอกเบี้ยที่มีการคิดคำนวณเอาไว้แล้วล่วงหน้า แล้วนำเงินจำนวนนั้นมารวมกับเงินต้นที่เหลือผ่อนจ่ายในแต่ละเดือน แม้ว่าจะมีเงินก้อนมาโปะเพิ่ม คุณก็ยังต้องจ่ายดอกเบี้ยทั้งหมดที่มีอยู่ดี

ผ่อนรถ 1 คัน คำนวณอะไรบ้าง

เมื่อตัดสินใจเลือกรถยนต์ที่คุณต้องการได้แล้ว ทีนี้มาดูกันเลยว่าในการผ่อนรถ 1 คันจะต้องคำนวณอะไรบ้าง ดังนี้!

สูตรการคำนวณผ่อนรถ

นำราคารถ – เงินดาวน์ = ยอดจัดไฟแนนซ์

นำยอดจัดไฟแนนซ์ x เปอร์เซ็นต์อัตราดอกเบี้ย (เช่น 5% หรือ 6% ซึ่งอัตราดอกเบี้ยของแต่ละที่ไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับศูนย์จัดจำหน่ายและระยะเวลาการผ่อน)

นำยอดรวมของดอกเบี้ยและยอดจัดมา ÷ กับจำนวนปีที่ต้องการจะผ่อน = ดอกเบี้ยทั้งหมดที่ต้องจ่าย (เช่น 2 ปี หรือ 3 ปี)

นำดอกเบี้ยทั้งหมดที่ต้องจ่าย + ยอดจัดไฟแนนซ์ = ยอดทั้งหมดที่ต้องจ่ายจริง

นำยอดทั้งหมดที่ต้องจ่ายจริง ÷ จำนวนเดือนที่ผ่อน (เช่น 24 เดือน หรือ 36 เดือน) = ค่างวดในแต่ละเดือน

โดยวิธีการคำนวณค่าผ่อนรถนี้ คุณสามาถใช้ได้ทั้งรถยนต์และรถมอเตอร์ไซค์

ตัวอย่าง รถที่คุณจะซื้อราคา 500,000 บาท หากคุณวางเงินดาวน์ 30% หรือ 150,000 บาท จะมียอดจัดทั้งหมด 350,000 บาท

หากคุณเลือกผ่อนชำระเป็นระยะเวลา 48 งวด (หรือ 4 ปี) ในอัตราดอกเบี้ย 5% ต่อปี จะมีวิธีคำนวณดังนี้

ดอกเบี้ย 5% ของ 350,000 บาท เท่ากับ 350,000 x 5% = 17,500 บาทต่อปี

ในระยะเวลา 4 ปีจะต้องจ่ายดอกเบี้ยรวมทั้งสิ้น 17,500 x 4 = 70,000 บาท

เมื่อรวมเข้ากับยอดจัด 350,000 บาท เท่ากับคุณมียอดรวมที่จะต้องจ่ายทั้งหมด 350,000 + 70,000 = 420,000 บาท

สรุปแล้ว คุณต้องจ่ายทั้งหมดเดือนละ 420,000 ÷ 48 = 8,750 บาท นั่นเอง

ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ วิธีคำนวณผ่อนรถ: ช่วยวางแผนการเงินให้สบายขึ้น…

คำสำคัญที่ผู้ใช้ค้นหาเกี่ยวกับหัวข้อ การ ดาวน์ รถยนต์

การวางเงินดาวน์ ออกรถ, ผ่อนรถเดือนละ 5000 ต้องดาวน์เท่าไหร่, ดาวน์รถเท่าไหร่, การดาวน์รถ คือ, ขั้นตอนการซื้อรถใหม่ 2564, ตารางดาวน์รถ, ซื้อรถยนต์, การดาวน์รถมอเตอร์ไซค์

ดูข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อด้วย %%% title %%% คุณสามารถค้นหาหัวข้อเกี่ยวกับรถยนต์เพิ่มเติมได้ที่นี่ เช่น ข่าวรถยนต์ล่าสุด

ดังนั้นเราจึงได้อัปเดตข้อมูลที่ได้รับความนิยมมากที่สุดเกี่ยวกับ การ ดาวน์ รถยนต์ ในช่วงเวลาที่ผ่านมา หวังว่าข้อมูลนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับคุณ คุณ

ขอบคุณที่รับชมครับ กรุณาเยี่ยมชมบ่อยสำหรับการปรับปรุงเพิ่มเติม! โปรดกดไลค์ กดแชร์ แสดงความคิดเห็นด้านล่างเพื่อแจ้งให้เราทราบว่าคุณต้องการอะไร!

ดูเพิ่มเติม:  ไฟ หน้า วี โก้ – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tagschobrod


Thông tin thêm

การ ดาวน์ รถยนต์ – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

#การ #ดาวน #รถยนต #เวบไซตชนนำสำหรบขอมลและคำแนะนำในการซอขายรถยนต
[rule_3_plain] #การ #ดาวน #รถยนต #เวบไซตชนนำสำหรบขอมลและคำแนะนำในการซอขายรถยนต

สารบัญ

Video: ก เอ๋ย ก ไก่ ถึง ฮ นกฮูก ท่อง ก ไก่ เด็ก2ขวบท่อง พัฒนาการเด็ก2ปี7เดือน Thai alphabet from YouTube · Duration: 2 minutes 17 seconds การมีพาหนะคู่ใจก็เหมือนการเลือกเพื่อนเเท้ร่วมเดินทาง ยิ่งเมื่อเข้าสู่วัยทำงานสองสิ่งสำคัญที่หลายคนมักเก็บเงินก้อนนั่นก็คือ รถยนต์เเละบ้าน ซึ่งรถยนต์ก็เป็นของชิ้นใหญ่ชิ้นเเรกที่หลายคนเลือกซื้อ เเต่การเลือกซื้อรถยนต์สักคันไม่ใช่เเค่จ่ายเงินดาวน์เเละจ่ายเงินเป็นงวดๆ ไป เเต่ยังมีค่าประกัน ค่าซ่อมรถ ค่าน้ำมัน ค่าทำความสะอาด เเละอื่นๆ อีกมาก เราจึงจะนำข้อมูลในการเลือกซื้อรถเเละขั้นตอนเก็บเงิน สำหรับใครที่กำลังอยากจะซื้อรถค่ะปัจจัยสำคัญในการเลือกซื้อรถ1. ประเภทรถ2. ราคาค่าใช้จ่ายเมื่อจะซื้อรถ 1 คัน1. เงินดาวน์2. ค่าผ่อนรถ3. ค่าน้ำมัน4. ค่าต่อทะเบียน5. ค่าบำรุงรักษา6. ค่าประกันรถยนต์7 วิธีการเก็บเงินซื้อรถ1. หัก 10% ออกทุกเดือน2. ออมเท่าค่างวด3. เก็บเเบงค์ 504. เก็บเท่าใช้5. ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น6. ลงทุนในกองทุนรวม7. ฝากเงินประจำระยะสั้น1. รายจ่ายประจำ2. รายจ่ายทั่วไปรู้จักการ ‘วางเงินดาวน์’ สำหรับการผ่อนรถครั้งแรกวางเงินดาวน์ และจัดไฟแนนซ์วางเงินดาวน์เท่าไหร่ดี?1.แบล็กลิสต์ ถ้าติดก็ปิดก่อน2.เตรียมเอกสาร แบบมืออาชีพศึกษาวิธีการผ่อนรถการวางแผนการเงินเพื่อซื้อรถศัพท์ควรรู้เบื้องต้นก่อนผ่อนรถผ่อนรถ 1 คัน คำนวณอะไรบ้างคำสำคัญที่ผู้ใช้ค้นหาเกี่ยวกับหัวข้อ การ ดาวน์ รถยนต์
การ ดาวน์ รถยนต์ เป็นข้อมูลที่คุณสนใจค้นหาหรือไม่ เว็บไซต์ของเราจะแนะนำข้อมูลล่าสุดและถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับ การ ดาวน์ รถยนต์ ในบทความนี้!
Video: ก เอ๋ย ก ไก่ ถึง ฮ นกฮูก ท่อง ก ไก่ เด็ก2ขวบท่อง พัฒนาการเด็ก2ปี7เดือน Thai alphabet from YouTube · Duration: 2 minutes 17 seconds

ดูข้อมูลในวิดีโอด้านล่าง

คุณกำลังดูวิดีโอ ก เอ๋ย ก ไก่ ถึง ฮ นกฮูก ท่อง ก ไก่ เด็ก2ขวบท่อง พัฒนาการเด็ก2ปี7เดือน Thai alphabet from YouTube · Duration: 2 minutes 17 seconds อัปเดตจากช่อง Namo krab จากวันที่ Apr 8, 2020 พร้อมคำอธิบายด้านล่าง

ข้อมูลด้านล่างเกี่ยวกับ การ ดาวน์ รถยนต์:

การมีพาหนะคู่ใจก็เหมือนการเลือกเพื่อนเเท้ร่วมเดินทาง ยิ่งเมื่อเข้าสู่วัยทำงานสองสิ่งสำคัญที่หลายคนมักเก็บเงินก้อนนั่นก็คือ รถยนต์เเละบ้าน ซึ่งรถยนต์ก็เป็นของชิ้นใหญ่ชิ้นเเรกที่หลายคนเลือกซื้อ เเต่การเลือกซื้อรถยนต์สักคันไม่ใช่เเค่จ่ายเงินดาวน์เเละจ่ายเงินเป็นงวดๆ ไป เเต่ยังมีค่าประกัน ค่าซ่อมรถ ค่าน้ำมัน ค่าทำความสะอาด เเละอื่นๆ อีกมาก เราจึงจะนำข้อมูลในการเลือกซื้อรถเเละขั้นตอนเก็บเงิน สำหรับใครที่กำลังอยากจะซื้อรถค่ะ
ปัจจัยสำคัญในการเลือกซื้อรถ

รถยนต์คือพาหนะหลักเเละเป็นหนี้ก้อนโตหลายปีในเวลาด้วยกัน การเลือกรถจึงต้องคิดให้ถี่ถ้วน เพื่อไม่เกิดปัญหาทีหลังซึ่ง 2 ปัจจัยหลักที่คุณควรตัดสินใจก่อนเลือกซื้อรถคือ

1. ประเภทรถ

ทุกคนมีเป้าหมายในการซื้อรถไม่เหมือนกัน บางคนชอบรถกระบะ จะได้บรรทุกของชิ้นใหญ่ได้ ส่วนบางคนชอบรถเก๋งเพราะขับง่าย หรือบางคนชอบรถครอบครัวเพราะสมาชิกในบ้านเยอะ เมื่อคุณได้รู้ความต้องการของตัวคุณเองเเล้วคุณจะรู้ว่าประเภทรถเเบบไหนที่เหมาะกับคุณ จะได้วางเเผนการเงินได้ถูก

บทความที่เกี่ยวข้อง

ต่อ ใบขับขี่ ใบรับรอง แพทย์ – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 2 11, 2022

รถยนต์ มี ค รัช – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 2 9, 2022

รับ ซื้อ แม็ ก มือ สอง – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 3 29, 2022

ราคา Triumph – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 2 25, 2022

คอมเพรสเซอร์ แอร์ รถยนต์ ไม่ ทํา งาน – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 2 11, 2022

007 มีกี่ภาค – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 3 4, 2022

รถ โน วา แต่ง สวย ๆ – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 2 14, 2022

ไท ตั้ น 4 ประตู – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 3 28, 2022

Porsche 911 Turbo S 2020 ราคา – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 2 28, 2022

มอ ไซ ค์ Gpx 150 – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 2 12, 2022

วิธี ล้าง กาว ร้อน ติด รถ – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 3 24, 2022

จุด ธูป ไหว้ รถ กี่ ดอก – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 2 24, 2022

หม้อน้ํารั่ว – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 2 25, 2022

ขาย รถ มิ ร่า – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 3 6, 2022

ราคา เว ส ป้า 125 – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 2 4, 2022

ตารางขนาดยางรถยนต์ – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 3 26, 2022

2. ราคา

ราคารถยนต์ เป็นปัจจัยสำคัญที่จะบอกว่าคุณต้องเก็บเงินเท่าไหร่ เเละเเต่ละเดือนต้องเสียอะไรบ้าง โดยเมื่อคุณทราบราคาที่จ่ายไหวเเละประเภทของรถยนต์เเล้ว คุณสามารถนั่งไล่ดูรถเเต่ละเเบรนด์ได้ว่าดีไซน์เเบบไหนที่ถูกใจ ถัดมาก็จะเป็นเรื่องการผ่อน ถือเป็นหนี้สินระยะยาวประมาณ 5-7 ปี คุณจึงต้องจัดสรรค่ารถเเละค่าใช้จ่ายในชีวิตให้สมดุลกัน
ค่าใช้จ่ายเมื่อจะซื้อรถ 1 คัน

ก่อนที่คุณจะซื้อรถยนต์ คุณควรทราบถึงค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นเมื่อซื้อรถยนต์ 1 คัน เพราะไม่ได้มีเเค่เงินดาวน์กับผ่อนรถเท่านั้น เราจึงนำ 6 ค่าใช้จ่ายหลักที่คุณจะต้องเสียเเน่นอน เพื่อให้คุณได้จัดสรรเงินได้อย่างถูกต้อง

1. เงินดาวน์

เงินดาวน์คือเงินก้อนเเรกสำหรับซื้อรถยนต์ ยิ่งดาวน์มากก็ยิ่งผ่อนน้อย ส่วนใครดาวน์น้อยก็ยิ่งผ่อนนานเเถมจะโดนดอกเบี้ยในอัตราที่สูงเล่นงานอีก ซึ่งจริงๆ เเล้วเงินผ่อนควรอยู่ที่ 20-25% ของรายได้ทั้งหมดเพื่อให้การเงินของคุณยังมีสภาพคล่องอยู่ มิฉะนั้นรถยนต์จะเป็นภาระชั้นดีนานถึง 7 ปีเลยทีเดียว
2. ค่าผ่อนรถ

ค่าผ่อนรถเเต่ละท่านไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับเงินดาวน์เเละราคารถ ตัวอย่าง รถยนต์ราคา 500,000 ดาวน์ได้อัตราดอกเบี้ยที่ 3% ระยะเวลาการผ่อน 5 ปี ดาวน์รถที่ 100,000 บาท เเสดงว่าเหลืออีก 400,000 บาทซึ่งค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นมีดังนี้
 

3. ค่าน้ำมัน

ค่าใช้จ่ายส่วนนี้สามารถชดเชยกับค่าเดินทางที่คุณเคยเสียไปซึ่งตกเดือนละ 3,000-4,000 บาท ยังไม่ร่วมค่าทางด่วน ค่าที่จอดรถต่างๆ ที่คุณจะต้องเสียในเเต่ละวัน
4. ค่าต่อทะเบียน

เหมือนภาษีรถยนต์ที่ต้องจ่ายทุกปี เป็นค่าใช้จ่ายภาคบังคับตามกฎหมาย ราคาขึ้นอยู่กับขนาดเเละอายุของรถยนต์
5. ค่าบำรุงรักษา

รถก็เหมือนบ้านที่ต้องเจอความสกปรกในเเต่ละวัน เผลอๆ อาจจะต้องปัดกวาดเช็ดถูมากกว่าบ้านด้วยซ้ำ ไม่ว่าคุณจะให้ร้านหรือทำความสะอาดเองก็ต้องมีใช้จ่ายเพิ่มขึ้นอยู่ดี
6. ค่าประกันรถยนต์

แม้กฎหมายจะไม่ได้บังคับให้ทุกคนที่มีรถยนต์ทำประกัน แต่การทำประกันรถยนต์ก็ยังถือเป็นเรื่องที่ไม่ควรละเลย เพราะเมื่อเกิดอุบัติเหตุอะไรขึ้นกับรถ ประกันรถยนต์สามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายได้มากถึง 100% ถือเป็นการประหยัดเงินจากเหตุไม่คาดฝันได้ ดังนั้น จึงแนะนำว่า เมื่อจะซื้อรถ ก็ควรเผื่อเงินค่าประกันรถยนต์ไว้ด้วย
7 วิธีการเก็บเงินซื้อรถ

เห็นค่าใช้จ่ายในการซื้อรถยนต์เเล้ว เชื่อว่าหลายท่านคงต้องกลับมาวางเเผนการเงินกันใหม่ ว่าเงินที่มีอยู่เพียงพอหรือยัง เพราะในการเลือกซื้อรถยนต์ถ้าคุณซื้อเงินสด ภาระต่างๆ ของคุณก็คงเหลือเเค่ค่าดูเเลรถยนต์ ประกันต่างๆ เเต่ถ้าเกิดการผ่อนชำระจะเกิดค่างวดเพิ่มขึ้นมา ยิ่งคุณใช้เวลาผ่อนชำระนานดอกเบี้ยก็จะเยอะ เราจึงจะมาบอกขั้นตอนการเก็บเงินทั้งเงินดาวน์เงินผ่อน เพื่อซื้อรถยนต์ที่ถูกต้องมาให้ทุกคนได้นำไปใช้กันค่ะ

1. หัก 10% ออกทุกเดือน

วิธีนี้เหมาะสำหรับมนุษย์เดือน เมื่อเงินออกปุ๊ปก็หัก 10% เข้าบัญชีเเยกไว้ห้ามถอนออกมาใช้ซึ่งเป็นวิธีการเก็บก่อนใช้อีกเเบบ ที่ช่วยให้คุณเก็บเงินซื้อรถได้เร็วขึ้นเเละจะส่งผลดีในระยะยาวเพราะครั้งเเรกที่คุณจ่าย จะเป็นค่าเงินดาวน์ที่ถูกหักจาก 10% มาหลายๆ เดือนเเละเมื่อคุณได้รถเเล้ว ก็นำเงิน 10% นี้มาเป็นค่างวดเเทน นอกจากช่วยให้คุณได้รถแล้วยังสร้างนิสัยการเก็บเงินให้คุณอีกด้วย
2. ออมเท่าค่างวด

วิธีนี้เป็นเหมือนการหักดิบสำหรับคนที่ยังคุมค่าใช้จ่ายไม่ได้ โดยการให้เดินเข้าไปในสนามผ่อนรถก่อนผ่อนจริงซะเลย ในเมื่อคุณทราบเเล้วว่าเดือนนึงค่าผ่อนรถในฝันจะต้องจ่ายเท่าไหร่ งั้นลองเสียก่อนจะได้ผ่อนจริงนอกจากจะได้เงินเก็บสำหรับซื้อรถเเล้วยังคอยเตือนคุณว่าจริงๆ เเล้วรายได้ที่คุณมีสามารถผ่อนรถในฝันของคุณได้จริงหรือเปล่า
3. เก็บเเบงค์ 50

วิธีพื้นฐานที่สำเร็จมานักต่อนัก เพราะวันนึงคุณไม่ได้เจอเเบงค์ 50 ทุกวัน การเก็บแบงค์ 50 อาจทำให้การเก็บเงินเป็นเรื่องง่ายก็เเค่ไม่ใช้เเบงค์นี้ พอครบเดือนคุณนำเเบงค์ 50 มารวมกันคุณจะพบว่า 50 บาท สามารถต่อยอดเป็นหลักพันได้และเงินจำนวนนี้สามารถช่วยคุณจ่ายค่างวดรถได้สบายมากขึ้น
4. เก็บเท่าใช้

เพราะยิ่งใช้มากคุณจะยิ่งเก็บน้อยลง เเต่ถ้าคุณใช้เท่ากับเก็บหละ หากจ่ายออกไปเยอะคุณก็มีเงินเก็บเยอะขึ้นเช่นกัน วิธีนี้จะช่วยให้เห็นภาพรวมของรายจ่ายต่อเดือนของคุณด้วยและเป็นอีกข้อดีที่ช่วยให้เห็นความสำคัญของเงินมากขึ้น
5. ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น

วิธีนี้เป็นสิ่งที่ทุกคนควรทำ ของบางอย่างที่อยากได้ต้องถามตัวคุณเองก่อนว่าสำคัญมั้ย ถ้าสำคัญจำเป็นคุณสามารถซื้อได้เลย เเต่ถ้าใจคุณอยากได้อย่างเดียวไม่ใช่ของจำเป็นเเละไม่เกิดการยับยั้งชั่งใจไว้ ก็เป็นเรื่องยากที่คุณจะจ่ายค่างวดรถได้อย่างสบายใจไม่กระทบการใช้เงินในชีวิต
6. ลงทุนในกองทุนรวม

เหมาะสำหรับเงินดาวน์ โดยผู้เริ่มต้นเเนะนำให้ซื้อ
กองทุนตลาดเงินหรือตราสารหนี้
เพราะความเสี่ยงปานกลางค่อนข้างต่ำ ทางเลือกการลงทุนที่ให้ผลตอบเเทนที่สูงกว่าเงินฝาก หากกังวลว่าไม่ถนัดด้านลงทุนเเนะนำให้นำเงินไปฝาก
บัญชีฝากประจำปลอดภาษี
เพื่อจะช่วยให้คุณได้เงินก้อนที่ตั้งใจไว้
7. ฝากเงินประจำระยะสั้น

ถ้าคุณลองมาหมดทุกวิธีเเล้วเเต่ยังไงก็เก็บไม่ได้ เเนะนำให้ธนาคารเก็บให้ โดยเป็นการฝากประจำระยะสั้น บางธนาคารจะมีเงินขั้นต่ำกำหนดไว้ จะช่วยให้คุณมีกรอบระเบียบในการเก็บเงินมากขึ้น โดยกรุงศรีเองก็มีบัญชีเงิน
ออมทรัพย์มีแต่ได้
ที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่าเงินฝากประจำแบบธรรมดา เพียงฝากเงินทุกเดือน จำนวนเท่ากับที่ฝากเดือนแรกติดต่อกัน 6 เดือน คุณก็จะได้รับดอกเบี้ยพิเศษสูงถึง 0.50% ซึ่งถือเป็นวิธีกระตุ้นให้คุณอยากออมเงินมากขึ้นและสร้างวินัยการออมที่เข้มแข็ง
 
การจะมีรถยนต์สักหนึ่งคันคงไม่ยาก ถ้าหากคุณจัดระบบการเก็บเงินที่ดีซึ่งเเผนเเต่ละคนมีไม่เหมือนกัน เช่น บางคนซื้อสดเลยเพราะไม่อยากมีภาระ บางคนเลือกจะผ่อนนานถึงเเม้จะเสียดอกเบี้ยสูงเเต่ก็เต็มใจเพราะสะดวกสบายไม่ต้องหาเงินก้อนเยอะๆ และบางคนเลือกจะจะดาวน์สูงๆ ผ่อนสบายเสียดอกเบี้ยไม่มาก ซึ่งวิธีเก็บเงินซื้อรถทั้งหมดเป็นคำเเนะนำให้ทุกคนได้เก็บเงินซื้อรถกัน จะได้ไม่ต้องกังวลเรื่องภาระที่จะตามมาหลังจากมีรถหนึ่งคัน นอกจากนี้กรุงศรีมี
ให้บริการสินเชื่อ เช่าซื้อรถยนต์
เพื่อให้คุณมีรถยนต์ในฝันกับการเงินที่ดีไปพร้อมๆ กัน
 

ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ 7 วิธีการเก็บเงินซื้อรถที่ถูกต้อง…

1. รายจ่ายประจำ

เป็นรายจ่ายที่เราต้องจ่ายทุกเดือนหรือทุกปี
ค่าผ่อนรถรายเดือน เป็นรายจ่ายก้อนใหญ่ที่เราจะต้องจ่ายทุกเดือนและหักเงินดาวน์รถออกไปแล้ว จำนวนเงินผ่อนในแต่ละเดือนนั้นจะคิดแบบอัตราดอกเบี้ยคงที่ คือ เงินต้นรวมกับดอกเบี้ยรถใหม่แล้วหารจำนวนเดือนที่จะผ่อน อย่าพึ่งมึนกับตัวเลขเพราะตอนนี้มีโปรแกรมช่วยเราคิดให้แล้ว
ตัวอย่าง เราต้องการซื้อรถคันใหม่ราคา 600,000 บาท มีเงินดาวน์รถ 300,000 บาท ผ่อน 60 เดือน อัตราดอกเบี้ย 5% เราก็ใส่ตัวเลขลงในโปรแกรมแล้วกด “เริ่มคำนวณ” ข้างล่างจะเป็นตัวเลขยอดจัดเช่าซื้อ (กู้ยืมเงิน) 300,000 บาท ผ่อน 60 เดือน ๆ ละ 6,250 บาท

คำนวณได้ที่: เครื่องมือคำนวณสินเชื่อรถยนต์
ช่วงนี้หลายคนอาจจะเห็นโปรโมชัน “ดาวน์น้อยผ่อนนาน” มาเป็นตัวกระตุ้นให้เราอยากซื้อรถ เพราะวางเงินดาวน์รถและจ่ายรายเดือนน้อย ๆ ก็ได้รถมาขับแล้ว แต่ใจเย็น ๆ ก่อนนะคะ ลองดูตัวเลขในตารางข้างล่างนี้เราจะเห็นความน่ากลัวของดอกเบี้ยจ่ายทั้งหมด (ตัวสีแดง)

จากตัวอย่างเดิม : เปรียบเทียบการเช่าซื้อ (กู้ยืมเงิน) มากและน้อย โดยใช้เวลาผ่อน 60 เดือน  

ถ้าใช้เงินดาวน์รถ 300,000 บาทและเช่าซื้อ (น้อย) 300,000 บาท เราเสียดอกเบี้ยทั้งหมด 75,000 บาท
ถ้าใช้เงินดาวน์รถ 50,000 บาทและเช่าซื้อ (มาก) 550,000 บาท เราเสียดอกเบี้ยทั้งหมด 137,540 บาท
ความคุ้มค่าของรถญี่ปุ่นมีตั้งแต่การช่วยประหยัดน้ำมันมากที่สุด หรือใช้เครื่องยนต์ดีที่สุด อย่างรถ Mitsubishi Lancer หรือรถสปอร์ตนิสสันรุ่น GT-R ที่ใช้เครื่องยนต์แรงและดีระดับโลก อีกตัวอย่างหนึ่ง คือ ระบบเซนเซอร์ป้องกันการชนของโตโยต้า (Toyota Safety Sense) ที่มีเซนเซอร์ไวและแม่นยำ โดยใช้เซนเซอร์ถึง 2 ระบบ เพื่อสามารถให้เซนเซอร์ทำงานได้ทุกสถานการณ์ ไม่ว่าจะเป็นยามอากาศไม่ดีหรือยามค่ำคืน
การเปรียบเทียบนี้จะทำให้รู้ว่า จากโปรโมชันที่ค่ายรถยนต์ออกมายั่วยวนใจเรานั้น ตอนแรกเราอาจจะรู้สึกดีที่ผ่อนจ่ายรายเดือนรวมกับดอกเบี้ยรถใหม่แล้วเป็นเงินเล็ก ๆ น้อย ๆ แต่ความจริงแล้วเราควรดูภาพรวมว่า เราเสียเงินทั้งหมดเท่าไหร่ จะได้วางแผนการซื้อว่า จะใส่เงินดาวน์รถน้อยหรือมาก ผ่อนจ่ายสั้นหรือยาว

รถทุกคันจะต้องมี พ.ร.บ. ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายที่ต้องจ่ายทุกปี เป็นการทำประกันภัยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 จ่ายปีละ 600 บาท
รายจ่ายค่าต่อทะเบียน ค่าภาษีรถยนต์เป็นรายจ่ายที่จะต้องจ่ายทุกปี โดยมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ย 1,500-6,000 บาทต่อปี ขึ้นอยู่กับขนาดรถ ถ้ารถขนาดใหญ่ต้องเสียภาษีแพงขึ้น
ประกันภัยรถยนต์ เป็นการโอนความเสี่ยงให้กับบริษัทประกันภัยรับผิดชอบ โดยมีให้เลือกประกันชั้น 1-3 ซึ่งรายละเอียดนั้นขึ้นอยู่กับโปรโมชันของแต่ละบริษัท ยิ่งรถมีราคาแพง ค่าเบี้ยประกันก็แพงเช่นกัน (จากตัวอย่างราคารถยนต์ 600,000 บาท ค่าเบี้ยประกันชั้น 1 ประมาณปีละ 15,000 บาท)
ค่าเชื้อเพลิง (ค่าน้ำมัน, ค่าแก๊ส) ขึ้นอยู่กับราคาน้ำมันในขณะนั้นและลักษณะการใช้งาน ซึ่งส่วนใหญ่จะเฉลี่ยอยู่ที่ 3,000 บาทต่อเดือน

2. รายจ่ายทั่วไป

นอกจากเงินดาวน์รถและเงินผ่อนรวมกับดอกเบี้ยรถใหม่ที่เราต้องจ่ายเป็นประจำทุกเดือนแล้ว ยังมีค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษารถ ตกแต่งและอำนวยความสะดวกในการเดินทางต่าง ๆ เช่น ค่าเปลี่ยนยาง (ทุก 2 ปี หรือ 50,000 กิโลเมตร) เข้าศูนย์ตรวจสภาพรถยนต์ ค่าที่จอดรถ (ในห้างสรรพสินค้า, ออฟฟิศใจกลางเมือง) ค่าทางด่วน ค่าล้างรถ ค่าตกแต่งรถ ค่าปรับที่ทำผิดกฎจราจร เป็นต้น
เราจะผ่อนรถไหวไหม?

เมื่อเราเห็นตัวเลขค่าใช้จ่ายในการผ่อนรถแล้ว บางครั้งเกิดความรู้สึกว่าเราจะผ่อนไหวไหม เพราะมันต้องผ่อนต่อเนื่องกันหลายปี ทั้งเงินต้นและดอกเบี้ยรถใหม่ ถ้าอยากรู้ก็ต้องทดลองด้วยการ “ซ้อมออมเงิน” เราประมาณยอดหนี้คร่าว ๆ ว่าจะต้องจ่ายเดือนละเท่าไหร่ก็ซ้อมออมเท่านั้น เพื่อจะได้รู้ว่าตนเองจะปรับลักษณะการใช้ชีวิตให้เข้ากับจำนวนเงินที่น้อยลงได้หรือไม่ จะได้ไม่ต้องผ่อนจริงเจ็บจริง

ตัวอย่างเดิม: เราจะซื้อรถคันใหม่ราคา 600,000 บาท เช่าซื้อ (กู้เงินมาซื้อ) 300,000 บาท ผ่อน 60 เดือน อัตราดอกเบี้ย 5% ประมาณค่าใช้จ่ายรายเดือนเท่าไหร่

ผ่อนเดือนละ 6,250 บาท รวมดอกเบี้ยรถใหม่เข้าไปแล้ว
ค่าน้ำมันเดือนละ 3,000 บาท
ค่า พ.ร.บ. + ค่าต่อทะเบียน + ค่าประกันภัยรถยนต์ จ่ายรายปีแต่เราเฉลี่ยเก็บรายเดือน เดือนละ 1,450 บาท

รวม: ประมาณค่าใช้จ่ายรายเดือน คือ 10,700 บาท (ยังไม่รวมรายจ่ายทั่วไป)
เราแยกบัญชีซ้อมออมเงินไว้ต่างหาก อาจจะเป็น “บัญชีออมทรัพย์ดอกเบี้ยสูง” เมื่อเงินเดือนเข้ามาปุ๊บก็สั่งโอนไปเก็บที่บัญชีนี้ทันทีเดือนละ 10,700 บาท สมมติว่าเราใช้เวลาซ้อม 1 ปีถึงจะปรับตัวกับเงินที่ใช้น้อยลงได้ ค่อยตัดสินใจซื้อรถ
การซ้อมออมเงินได้ประโยชน์ 2 เด้ง คือคือ

เด้งที่ 1 เรามีเงินไปดาวน์รถเพิ่มขึ้น 10,700 x 12 = 128,400 บาท ทำให้เรากู้ยืมเงินน้อยลง และเสียดอกเบี้ยลดลงด้วย
เด้งที่ 2 เวลา 1 ปีผ่านไป ราคารถที่เราอยากได้มันจะมีราคาลดลง ทำให้เราประหยัดเงินมากขึ้นอีกด้วย

เมื่อเราจำเป็นจะต้องซื้อรถ นอกจากหาข้อมูลของรถแล้วยังจะต้องประมาณค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกิดขึ้นด้วย เพื่อจะได้วางแผนการซื้อและซ้อมออมเงินเพื่อดาวน์รถ ผ่อนรถ ปรับวิธีการใช้ชีวิต และเตรียมความพร้อมก่อนการสร้างหนี้จริง
ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ คำนวณค่าใช้จ่ายและดอกเบี้ยรถใหม่สำหรับเจ้าของรถ…

รู้จักการ ‘วางเงินดาวน์’ สำหรับการผ่อนรถครั้งแรก
สินค้าชิ้นใหญ่ชิ้นแรกๆ ในชีวิตของคนส่วนใหญ่ก็คงจะเป็นรถยนต์ ซึ่งราคาก็ค่อนข้างใหญ่ตามตัวของมันตั้งแต่หลักแสนไปจนถึงหลักล้าน ใครที่หน้าที่การงานดีหรือมีเงินถุงเงินถังก็คงเลือกที่จะ “ซื้อสด” ได้ไม่ยาก แต่สำหรับคนทั่วไปอย่างเราๆ การจะเก็บหอมรอมริบเพื่อซื้อรถทีเดียวก็ดูจะเป็นเรื่องที่ไกลตัวมากๆ แต่สถาบันการเงินก็มีทางเลือกสำหรับการ “ซื้อผ่อน” ให้คนอย่างเราๆ เหมือนกัน
แต่การซื้อผ่อนของรถยนต์ไม่ได้เหมือนกับการรูดบัตรเครดิตผ่อนสินค้าทั่วๆ ไป ที่เมื่อวงเงินเราถึงก็จัดการแบ่งจ่ายเป็นงวดๆ แล้วเสียดอกเบี้ยตามแต่ละบัตร แต่เป็นการวางเงินดาวน์ไว้ส่วนหนึ่งของราคารถและนำส่วนที่เหลือไปกู้เงินจากทางสถาบันการเงิน (บริษัทไฟแนนซ์) แทน ซึ่งอย่างตัวผู้เขียนที่ไม่ได้ศึกษาเรื่องการวางเงินดาวน์มาก่อนก็เริ่มต้นไม่ถูกเหมือนกัน บทความนี้เลยขอมาอธิบายเป็นขั้นตอนไปสำหรับคนที่สนใจให้เข้าใจเรื่องการดาวน์รถกันมากขึ้น มาดูกันเลย
วางเงินดาวน์ และจัดไฟแนนซ์
วางเงินดาวน์และจัดไฟแนนซ์เป็นค่าใช้จ่าย 2 ส่วนสำหรับการซื้อผ่อนรถยนต์ โดยเงินดาวน์จะเป็นเงินก้อนหนึ่งของราคารถ (นิยมวาง 25% ของราคารถ) และค่าใช้จ่ายส่วนที่เหลือจะถูกนำไปกู้กับทางสถาบันการเงิน (ไฟแนนซ์) ที่จะถูกแบ่งจ่ายออกเป็นงวดๆ ตามตกลง และคิดดอกเบี้ยตามระยะเวลาที่ทำการกู้เงินที่เรียกว่ายอดจัดไฟแนนซ์

ราคารถยนต์

เงินดาวน์
ยอดจัดไฟแนนซ์ (แบ่งจ่ายเป็นงวด)

วางเงินดาวน์เท่าไหร่ดี?
เราสามารถวางเงินดาวน์ได้มากหรือน้อยตามกำลังทรัพย์ของเราไม่มีกำหนดตายตัวว่าต้องมากกว่าหรือไม่เกินกี่เปอร์เซ็นต์ของราคารถ แต่ลักษณะจะเป็นการยื่นข้อเสนอเจรจาระหว่างเรากับทางไฟแนนซ์มากกว่า หากวางเงินดาวน์น้อยไปไฟแนนซ์ก็จะมองว่าเราอาจจะจ่ายหนี้ไม่ไหว หรือหากวางสูงเกินไปดอกเบี้ยก็จะถูกไม่คุ้มค่าดำเนินการและถูกปฏิเสธเอาได้
ในเบื้องต้นคือเราควรมีเงินก้อนไว้สำหรับดาวน์รถ 25% ของราคารถ (ถ้ารถราคา 500,000 บาท เงินดาวน์ก็จะอยู่ที่ 125,000 บาท) ซึ่งยิ่งเราวางดาวน์ได้สูง ภาระต่อเดือนในการจ่ายค่างวดรวมทั้งดอกเบี้ยก็จะลดลงอีกด้วย ถ้าอยากวางดาวน์สูงๆ ก็ต้องลองคุยกับพนักงานขายรถ (เซลล์ขายรถ) หรือไฟแนนซ์ดู
สำหรับคนที่มีความจำเป็นที่ต้องวางดาวน์น้อยกว่า 25% จริงๆ ก็ต้องไปดูที่โปรโมชั่นของผู้จำหน่ายในแต่ละแบรนด์ที่ให้วางดาวน์ 10 – 15% หรือ 0% ก็มี แต่ก็จะต้องแลกกับดอกเบี้ยที่สูงมากและการผ่อนที่ยาวนานกว่า
ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ การวางเงินดาวน์รถใหม่ ต้องใช้อะไรบ้าง เรื่องที่มือใหม่ผ่อนรถยนต์ต้องรู้ !…

1.แบล็กลิสต์ ถ้าติดก็ปิดก่อน
ก่อนจะหารถตามสเป็ค เช็คตัวเองก่อน ว่ามีประวัติเสียในเครดิตบูโรหรือเปล่า เช่น เคยผิดนัดชำระหนี้บัตรเครดิต เพราะถ้ามีจะต้องทำเรื่องปิดให้เรียบร้อยก่อน และทิ้งระยะเวลาให้นานกว่า 2 ปี จึงจะเริ่มผ่อนรถได้ แนะนำ! ถ้าอยากซื้อเลย ต้องนำใบปิดเรื่องมายื่นกับไฟแนนซ์ และวางเงินดาวน์ก้อนใหญ่ประมาณ 40% ขึ้นไป โดยไฟแนนซ์จะพิจารณาเป็นกรณีไปแล้วแต่ความรุนแรง
2.เตรียมเอกสาร แบบมืออาชีพ
ถ้าไม่มีประวัติหรือปิดเรียบร้อยแล้ว ก็เริ่มเตรียมเอกสารสำคัญได้เลยโดยเราขอแยกชุดเอกสาร สำหรับพนักงานประจำ และ อาชีพอิสระ ดังนี้
พนักงานประจำ
– สำเนาบัตรประชาชน และ สำเนาทะเบียนบ้าน อย่างละ 3 ใบ
– สลิปเงินเดือน (สลิปคาร์บอน) ย้อนหลัง 6 เดือน หากไม่มี ให้ใช้ใบรับรองเงินเดือน
– สมุดบัญชีเงินเดือน ย้อนหลัง 6 เดือน เพื่อดูความสามารถในการชำระหนี้
หากไม่ค่อยได้อัพบุ๊ค สามารถใช้ Statement (ย้อนหลัง 6 เดือน) ที่ขอจากธนาคารได้เช่นกัน
อาชีพอิสระ (เช่น ค้าขาย)
– สำเนาบัตรประชาชน และ สำเนาทะเบียนบ้าน อย่างละ 3 ใบ (ข้อนี้เหมือนพนง.ประจำ)
– ใบเสร็จ ใบส่งของ หลักฐานการซื้อขายทุกอย่าง ต้องเก็บไว้ยื่นไฟแนนซ์ ยิ่งครบ ยิ่งผ่านง่าย
– รูปถ่ายหน้าร้าน พร้อมใบเสร็จค่าเช่าที่ หรือ ภาพเพจ Facebook, IG หากขายของทางออนไลน์
– Statement หรือ รายการเดินบัญชีย้อนหลัง 1 ปี เพื่อแสดงฐานรายได้ที่มั่นคง
แนะนำ! ควรมีรายรับก้อนใหญ่เข้าทุกเดือน และมีรายได้เล็กๆน้อยๆ สม่ำเสมอทุกสัปดาห์ ข้อควรระวังคือ เมื่อมีเงินเข้า อย่าเพิ่งถอนออกจนหมดทันที ให้ทยอยถอนใช้ทีละนิดในวันอื่น และเหลือเงินคงค้างติดบัญชีไว้ประมาณ 10% จะดูน่าเชื่อถือที่สุด
ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ ผ่อนรถมือหนึ่ง ต้องคำนึงถึง 4 สิ่งนี้ – Sunday Blog…

ศึกษาวิธีการผ่อนรถ
ข้อควรรู้เบื้องต้นคือ เราควรมีเงินดาวน์รถยนต์ประมาณ 25% ของราคารถที่จะซื้อ ไม่เช่นนั้น ทางบริษัทไฟแนนซ์หรือสถาบันการเงินจะไม่อนุมัติการผ่อนชำระ และอีกกรณีหนึ่งคือ ถ้าผู้ที่มีรายได้ต่อเดือนน้อยหรือมีเงินเดือนไม่ถึงหลักหมื่นบาท ก็อาจจะถูกปฏิเสธการผ่อนชำระได้เช่นกัน สาเหตุคือ ค่าผ่อนอาจจะสูงเกินไปเมื่อเทียบกับรายได้ต่อเดือน
ซึ่งวิธีการคำนวณดอกเบี้ยเงินกู้สำหรับรถยนต์นั้น จะเป็นวิธีการคิดแบบ “Flat Rate” หรือ ดอกเบี้ยคงที่ คือการรวมเงินต้นและดอกเบี้ยเข้าด้วยกัน และแบ่งเป็นงวดๆ ให้เราจ่ายจำนวนนี้ไปแต่ละงวด
ตัวอย่าง ถ้าเราจะซื้อรถราคา 500,000 บาท เราวางดาวน์ไว้ 150,000 บาท จะต้องกู้เพิ่ม 350,000 บาท ดอกเบี้ย 5% ต่อปี ระยะเวลา 4 ปี (หรือ 4 งวด)
แสดงว่าเราต้องเสียดอกเบี้ยเป็นจำนวน 350,000*5% = 17,500 บาทต่อปี
ระยะ 4 ปี เราต้องจ่ายดอกเบี้ยทั้งหมด 17,500*4 = 70,000 บาท
ทำให้เราเป็นหนี้ธนาคารทั้งหมด 350,000+70,000 = 420,000 บาท 
ซึ่งเราต้องจ่ายปีละ 105,000 บาทต่อปี หรือ 8,750 บาทต่อเดือน
ข้อควรรู้อีกข้อ คือ การผ่อนรถไม่เหมือนกับการผ่อนบ้าน เพราะการผ่อนรถเป็นการชำระตายตัว มีการคิดดอกเบี้ยที่ต้องจ่ายล่วงหน้าไว้แล้ว นั่นก็คือ เรายังต้องจ่ายทั้งหมด 420,000 บาทอยู่ดี ถึงแม้ว่าเราจะมีเงินมาโปะยอดค้างทั้งหมด และหวังว่าจะไม่ต้องจ่ายดอกเบี้ยในงวดต่อไปเพราะเราชำระหนี้ค้างไว้หมดแล้ว ซึ่งกรณีนี้จะเหมือนการผ่อนบ้านที่คิดแบบดอกเบี้ยแบบลดต้นลดดอก หรือ Effective Rate ซึ่งถ้าเราสามารถจ่ายยอดค้างได้ทั้งหมดก่อนการชำระงวดต่อไป เราก็ไม่มีความจำเป็นต้องจ่ายดอกเบี้ยในอนาคตแล้ว หมายความว่า ถ้าเป็นการผ่อนบ้าน ยิ่งเราสามารถผ่อนได้เร็วขึ้น เรายิ่งลดค่าใช้จ่ายเรื่องดอกเบี้ยได้มากยิ่งขึ้น 
และที่สำคัญคือ ในกรณีที่เราค้างค่างวดเป็นเวลา 3 เดือนติดต่อกัน เพราะเรามีปัญหาหมุนเงินไม่ทัน ผ่อนรถต่อไม่ไหวแล้ว ทางฝ่ายไฟแนนซ์จะเข้ามาติดต่อเพื่อหาทางออกเรื่องการค้างชำระ แต่ถ้าภายใน 30 วันยังไม่สามารถตกลงได้ ผลลัพธ์คือ เราจะต้องโดนยึดรถนั่นเอง แต่เรื่องไม่จบเพียงแค่นี้เท่านั้น เพราะหลังจากการยึดรถ ไฟแนนซ์จะนำรถนั้นไปขายทอดตลาด และหากราคารถที่ถูกขายได้น้อยกว่าจำนวนเงินที่เราค้างชำระ ทางไฟแนนซ์ก็จะตามค่าส่วนต่างกับเรากับอยู่ดี ทางที่ดี เราควรจ่ายค่างวดให้ครบและตรงเวลาในทุกๆ เดือนเพื่อลดปัญหาที่จะตามมาภายหลัง และต้องคิดดีๆ ว่าที่เรากู้เงินไปซื้อรถ ‘เราสามารถผ่อนไหวไหม?’
ดังนั้น เราสามารถสรุปได้ว่า ยิ่งเราวางเงินดาวน์น้อย และระยะผ่อนนาน ดอกเบี้ยที่เราจะต้องจ่ายก็ยิ่งสูง ฉะนั้น ถ้าเรายิ่งสามารถวางเงินดาวน์ไว้สูงเท่าไหร่ และระยะผ่อนสั้น เราก็จะจ่ายดอกเบี้ยน้อยลง และสามารถปลดหนี้ได้เร็วมากยิ่งขึ้น หรือถ้าเรามีเงินสดเพียงพอ ก็ควรซื้อไปเลย เพื่อจะได้ไม่ต้องจ่ายดอกเบี้ยเลย และสามารถลดค่าใช้จ่ายส่วนนี้ได้อีกด้วย
การวางแผนการเงินเพื่อซื้อรถ
หลังจากที่เราศึกษาข้อควรรู้ก่อนซื้อรถยนต์และวิธีการผ่อนรถไปแล้ว เมื่อลองประเมินแบบเร็วๆ เราต้องมีเงินก้อนประมาณ 200,000 บาทเพื่อดาวน์รถ และเงินที่ต้องจ่ายรายเดือนก็อยู่ที่ประมาณ 10,000 กว่าบาท ซึ่งค่าใช้จ่ายนี้ก็แปรผันตามยี่ห้อและรุ่นของรถ ยิ่งรถแพง ค่าใช้จ่ายก็แพงขึ้นตาม
ดังนั้นเพื่อให้เราถึงฝันรถคันแรกนี้ เราก็ควรวางแผนการเงิน แต่ว่าจำนวนเงินมันดูเยอะนะสำหรับมนุษย์เงินเดือนธรรมดาๆ อย่างเรา คำถามในหัวของทุกคนคงจะเป็น ‘เป้าหมายไกลจัง… จะทำได้หรือเปล่านะ?’
เพื่อให้ถึงเป้าหมายของเรา เราก็มีวิธีที่สามารถทำให้เราครอบครองรถคันแรกของเราได้เร็วขึ้น วิธีนั้นก็คือ ‘การลงทุน’ ซึ่งเรามั่นใจว่าวิธีเบื้องต้นสำหรับคนที่อยากมีรถก็คือ การออมเงิน แต่อย่าลืมว่า การออมอย่างเดียว อาจจะทำให้เราสามารถซื้อรถได้ตามต้องการแต่ก็นาน เพราะเงินไม่มีการเติบโตด้วยการเก็บอย่างเดียวหรือโตช้าด้วยดอกเบี้ยธนาคาร แต่ถ้าเราเอาเงินเก็บของเราไปลงทุนด้วย เงินของเราก็จะโตเร็วขึ้นกว่าเดิม เราก็จะถึงเป้าหมายเร็วขึ้นกว่าเดิมด้วย 
ถึงแม้ภาพในหัวของใครหลายๆ คนคงคิดว่า ‘การลงทุนเหรอ… ฟังแล้วลำบากเนอะ’ แต่จริงๆ แล้วการลงทุนไม่ใช่สิ่งที่ยากและลำบากเลย สมัยนี้ตัวช่วยเรามีเยอะแยะ
ขอยกตัวอย่าง แผน GOAL ของ FINNOMENA ที่ถูกสร้างมาสำหรับผู้ที่มีเป้าหมายการลงทุนเพื่อการเก็บเงินก้อน และจะจัดพอร์ตตามวัตุประสงค์ ตามระยะเวลาในการลงทุน และเป้าหมายการลงทุนที่แตกต่างกันไป อย่างเช่น การซื้อรถยนต์ ซื้อบ้าน แต่งงาน มีเงินเกษียณ เป็นต้น โดยเน้นการลงทุนแบบ Dollar Cost Average (DCA) เป็นการทยอยลงทุนสะสมในทุกๆ เดือน ซึ่งความพิเศษของแผน GOAL นี้ ก็คือ Wealth Path ที่ช่วยคำนวณความเป็นไปได้ในการลงทุนผ่านโมเดลทางการเงินที่สามารถพยากรณ์โอกาสทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตว่า ‘ถ้าเรามีเงินลงทุนตั้งต้นอยู่ที่ 50,000 บาท โดยมีเงินลงทุนสะสมทุกเดือนที่ 10,000 บาท ด้วยความเสี่ยงระดับที่เราเลือกต่ำสุด ภายในระยะเวลา 5 ปีที่เรากำหนด เราจะสามารถมีเงินถึงเป้าหมายเราได้หรือไม่ผ่านการลงทุน’
และหากใครกังวลว่า เราต้องนั่งเฝ้าพอร์ตของเราตลอดเวลารึเปล่า? จริงๆ แล้วพอร์ตของเราจะได้รับคำแนะนำและดูแลโดยผู้เชี่ยวชาญตลอดเวลา ดังนั้น ไม่ต้องเป็นห่วง! 
หากใครสนใจรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการลงทุนตามเป้าหมายด้วยแผน GOAL สามารถเข้าไปดูรายละเอียดได้ที่ /goal/ หรือคลิกที่แบนเนอร์ข้างล่างได้เลย

คำเตือน
ผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลสำคัญของกองทุนโดยเฉพาะนโยบายกองทุน ความเสี่ยง และผลการดำเนินงานของกองทุน โดยสามารถขอข้อมูลจากผู้แนะนำก่อนตัดสินใจลงทุน |  ผลการดำเนินงานในอดีตมิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลการดำเนินงานในอนาคต | ผู้ลงทุนอาจมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากการป้องกันความเสี่ยงขึ้นอยู่กับดุลพินิจของผู้จัดการกองทุน

ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ อยากผ่อนรถ ควรรู้อะไรบ้าง? แล้วจะวางแผนเก็บเงินซื้อรถอย่างไรดี? – FINNOMENA…

ศัพท์ควรรู้เบื้องต้นก่อนผ่อนรถ
ก่อนจะถึงการคำนวณค่างวดรถ เงินติดล้อขอบอกก่อนเลยว่าในขั้นตอนการผ่อนจะมีคำศัพท์ยากๆ ที่หลายๆ คนอาจไม่คุ้นเคยมาก่อน เพราะฉะนั้นควรรู้คำศัพท์เบื้องต้นก่อนจะเริ่มผ่อนรถยนต์สักคันกันก่อน
จัดไฟแนนซ์ หมายถึง การขอสินเชื่อจากสถาบันการเงินเพื่อซื้อรถยนต์ในกรณีที่คุณไม่มีเงินก้อนมากพอจะจ่ายเงินเพื่อซื้อรถในคราวเดียว ซึ่งจะเป็นผู้ดำเนินการจ่ายเงินก้อนนี้ให้กับบริษัทรถยนต์ และคุณจะต้องผ่อนชำระให้กับทางสถาบันเงินเป็นงวดๆ ไป
เงินดาวน์ หมายถึง เงินก้อนแรกที่คุณจะต้องจ่ายในการผ่อนรถ ซึ่งส่วนที่เหลือจะผ่อนส่งพร้อมๆ กับดอกเบี้ยเป็นงวดๆ ไปจนครบกำหนด
ยอดจัด หมายถึง ยอดเงินที่คุณจัดยืมจากไฟแนนซ์และต้องผ่อนส่ง เช่น รถยนต์ราคา 500,000 หากคุณวางเงินดาวน์ 100,000 บาท จะมียอดจัดจากไฟแนนซ์ 400,000 นั่นเอง ซึ่งยอดจัดนี้จะเป็นจำนวนเงินที่จะนำมาคำนวณหาดอกเบี้ยที่คุณจะต้องจ่าย
ดอกเบี้ยแบบคงที่ หมายถึง ดอกเบี้ยที่มีการคิดคำนวณเอาไว้แล้วล่วงหน้า แล้วนำเงินจำนวนนั้นมารวมกับเงินต้นที่เหลือผ่อนจ่ายในแต่ละเดือน แม้ว่าจะมีเงินก้อนมาโปะเพิ่ม คุณก็ยังต้องจ่ายดอกเบี้ยทั้งหมดที่มีอยู่ดี

ผ่อนรถ 1 คัน คำนวณอะไรบ้าง
เมื่อตัดสินใจเลือกรถยนต์ที่คุณต้องการได้แล้ว ทีนี้มาดูกันเลยว่าในการผ่อนรถ 1 คันจะต้องคำนวณอะไรบ้าง ดังนี้!
สูตรการคำนวณผ่อนรถ
นำราคารถ – เงินดาวน์ = ยอดจัดไฟแนนซ์
นำยอดจัดไฟแนนซ์ x เปอร์เซ็นต์อัตราดอกเบี้ย (เช่น 5% หรือ 6% ซึ่งอัตราดอกเบี้ยของแต่ละที่ไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับศูนย์จัดจำหน่ายและระยะเวลาการผ่อน)
นำยอดรวมของดอกเบี้ยและยอดจัดมา ÷ กับจำนวนปีที่ต้องการจะผ่อน = ดอกเบี้ยทั้งหมดที่ต้องจ่าย (เช่น 2 ปี หรือ 3 ปี)
นำดอกเบี้ยทั้งหมดที่ต้องจ่าย + ยอดจัดไฟแนนซ์ = ยอดทั้งหมดที่ต้องจ่ายจริง
นำยอดทั้งหมดที่ต้องจ่ายจริง ÷ จำนวนเดือนที่ผ่อน (เช่น 24 เดือน หรือ 36 เดือน) = ค่างวดในแต่ละเดือน
โดยวิธีการคำนวณค่าผ่อนรถนี้ คุณสามาถใช้ได้ทั้งรถยนต์และรถมอเตอร์ไซค์
ตัวอย่าง รถที่คุณจะซื้อราคา 500,000 บาท หากคุณวางเงินดาวน์ 30% หรือ 150,000 บาท จะมียอดจัดทั้งหมด 350,000 บาท
หากคุณเลือกผ่อนชำระเป็นระยะเวลา 48 งวด (หรือ 4 ปี) ในอัตราดอกเบี้ย 5% ต่อปี จะมีวิธีคำนวณดังนี้
ดอกเบี้ย 5% ของ 350,000 บาท เท่ากับ 350,000 x 5% = 17,500 บาทต่อปี
ในระยะเวลา 4 ปีจะต้องจ่ายดอกเบี้ยรวมทั้งสิ้น 17,500 x 4 = 70,000 บาท
เมื่อรวมเข้ากับยอดจัด 350,000 บาท เท่ากับคุณมียอดรวมที่จะต้องจ่ายทั้งหมด 350,000 + 70,000 = 420,000 บาท
สรุปแล้ว คุณต้องจ่ายทั้งหมดเดือนละ 420,000 ÷ 48 = 8,750 บาท นั่นเอง

ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ วิธีคำนวณผ่อนรถ: ช่วยวางแผนการเงินให้สบายขึ้น…

คำสำคัญที่ผู้ใช้ค้นหาเกี่ยวกับหัวข้อ การ ดาวน์ รถยนต์

การวางเงินดาวน์ ออกรถ, ผ่อนรถเดือนละ 5000 ต้องดาวน์เท่าไหร่, ดาวน์รถเท่าไหร่, การดาวน์รถ คือ, ขั้นตอนการซื้อรถใหม่ 2564, ตารางดาวน์รถ, ซื้อรถยนต์, การดาวน์รถมอเตอร์ไซค์

ดูข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อด้วย %%% title %%% คุณสามารถค้นหาหัวข้อเกี่ยวกับรถยนต์เพิ่มเติมได้ที่นี่ เช่น ข่าวรถยนต์ล่าสุด

ดังนั้นเราจึงได้อัปเดตข้อมูลที่ได้รับความนิยมมากที่สุดเกี่ยวกับ การ ดาวน์ รถยนต์ ในช่วงเวลาที่ผ่านมา หวังว่าข้อมูลนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับคุณ คุณ

ขอบคุณที่รับชมครับ กรุณาเยี่ยมชมบ่อยสำหรับการปรับปรุงเพิ่มเติม! โปรดกดไลค์ กดแชร์ แสดงความคิดเห็นด้านล่างเพื่อแจ้งให้เราทราบว่าคุณต้องการอะไร!
.u13a3339447778c4533d1f64dd2a61e05 { padding:0px; margin: 0; padding-top:1em!important; padding-bottom:1em!important; width:100%; display: block; font-weight:bold; background-color:inherit; border:0!important; border-left:4px solid inherit!important; text-decoration:none; } .u13a3339447778c4533d1f64dd2a61e05:active, .u13a3339447778c4533d1f64dd2a61e05:hover { opacity: 1; transition: opacity 250ms; webkit-transition: opacity 250ms; text-decoration:none; } .u13a3339447778c4533d1f64dd2a61e05 { transition: background-color 250ms; webkit-transition: background-color 250ms; opacity: 1; transition: opacity 250ms; webkit-transition: opacity 250ms; } .u13a3339447778c4533d1f64dd2a61e05 .ctaText { font-weight:bold; color:#F1C40F; text-decoration:none; font-size: 16px; } .u13a3339447778c4533d1f64dd2a61e05 .postTitle { color:inherit; text-decoration: underline!important; font-size: 16px; } .u13a3339447778c4533d1f64dd2a61e05:hover .postTitle { text-decoration: underline!important; } ดูเพิ่มเติม:  ไฟ หน้า วี โก้ – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tagschobrod

#การ #ดาวน #รถยนต #เวบไซตชนนำสำหรบขอมลและคำแนะนำในการซอขายรถยนต
[rule_2_plain] #การ #ดาวน #รถยนต #เวบไซตชนนำสำหรบขอมลและคำแนะนำในการซอขายรถยนต
[rule_2_plain] #การ #ดาวน #รถยนต #เวบไซตชนนำสำหรบขอมลและคำแนะนำในการซอขายรถยนต
[rule_3_plain]

#การ #ดาวน #รถยนต #เวบไซตชนนำสำหรบขอมลและคำแนะนำในการซอขายรถยนต

สารบัญ

Video: ก เอ๋ย ก ไก่ ถึง ฮ นกฮูก ท่อง ก ไก่ เด็ก2ขวบท่อง พัฒนาการเด็ก2ปี7เดือน Thai alphabet from YouTube · Duration: 2 minutes 17 seconds การมีพาหนะคู่ใจก็เหมือนการเลือกเพื่อนเเท้ร่วมเดินทาง ยิ่งเมื่อเข้าสู่วัยทำงานสองสิ่งสำคัญที่หลายคนมักเก็บเงินก้อนนั่นก็คือ รถยนต์เเละบ้าน ซึ่งรถยนต์ก็เป็นของชิ้นใหญ่ชิ้นเเรกที่หลายคนเลือกซื้อ เเต่การเลือกซื้อรถยนต์สักคันไม่ใช่เเค่จ่ายเงินดาวน์เเละจ่ายเงินเป็นงวดๆ ไป เเต่ยังมีค่าประกัน ค่าซ่อมรถ ค่าน้ำมัน ค่าทำความสะอาด เเละอื่นๆ อีกมาก เราจึงจะนำข้อมูลในการเลือกซื้อรถเเละขั้นตอนเก็บเงิน สำหรับใครที่กำลังอยากจะซื้อรถค่ะปัจจัยสำคัญในการเลือกซื้อรถ1. ประเภทรถ2. ราคาค่าใช้จ่ายเมื่อจะซื้อรถ 1 คัน1. เงินดาวน์2. ค่าผ่อนรถ3. ค่าน้ำมัน4. ค่าต่อทะเบียน5. ค่าบำรุงรักษา6. ค่าประกันรถยนต์7 วิธีการเก็บเงินซื้อรถ1. หัก 10% ออกทุกเดือน2. ออมเท่าค่างวด3. เก็บเเบงค์ 504. เก็บเท่าใช้5. ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น6. ลงทุนในกองทุนรวม7. ฝากเงินประจำระยะสั้น1. รายจ่ายประจำ2. รายจ่ายทั่วไปรู้จักการ ‘วางเงินดาวน์’ สำหรับการผ่อนรถครั้งแรกวางเงินดาวน์ และจัดไฟแนนซ์วางเงินดาวน์เท่าไหร่ดี?1.แบล็กลิสต์ ถ้าติดก็ปิดก่อน2.เตรียมเอกสาร แบบมืออาชีพศึกษาวิธีการผ่อนรถการวางแผนการเงินเพื่อซื้อรถศัพท์ควรรู้เบื้องต้นก่อนผ่อนรถผ่อนรถ 1 คัน คำนวณอะไรบ้างคำสำคัญที่ผู้ใช้ค้นหาเกี่ยวกับหัวข้อ การ ดาวน์ รถยนต์
การ ดาวน์ รถยนต์ เป็นข้อมูลที่คุณสนใจค้นหาหรือไม่ เว็บไซต์ของเราจะแนะนำข้อมูลล่าสุดและถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับ การ ดาวน์ รถยนต์ ในบทความนี้!
Video: ก เอ๋ย ก ไก่ ถึง ฮ นกฮูก ท่อง ก ไก่ เด็ก2ขวบท่อง พัฒนาการเด็ก2ปี7เดือน Thai alphabet from YouTube · Duration: 2 minutes 17 seconds

ดูข้อมูลในวิดีโอด้านล่าง

คุณกำลังดูวิดีโอ ก เอ๋ย ก ไก่ ถึง ฮ นกฮูก ท่อง ก ไก่ เด็ก2ขวบท่อง พัฒนาการเด็ก2ปี7เดือน Thai alphabet from YouTube · Duration: 2 minutes 17 seconds อัปเดตจากช่อง Namo krab จากวันที่ Apr 8, 2020 พร้อมคำอธิบายด้านล่าง

ข้อมูลด้านล่างเกี่ยวกับ การ ดาวน์ รถยนต์:

การมีพาหนะคู่ใจก็เหมือนการเลือกเพื่อนเเท้ร่วมเดินทาง ยิ่งเมื่อเข้าสู่วัยทำงานสองสิ่งสำคัญที่หลายคนมักเก็บเงินก้อนนั่นก็คือ รถยนต์เเละบ้าน ซึ่งรถยนต์ก็เป็นของชิ้นใหญ่ชิ้นเเรกที่หลายคนเลือกซื้อ เเต่การเลือกซื้อรถยนต์สักคันไม่ใช่เเค่จ่ายเงินดาวน์เเละจ่ายเงินเป็นงวดๆ ไป เเต่ยังมีค่าประกัน ค่าซ่อมรถ ค่าน้ำมัน ค่าทำความสะอาด เเละอื่นๆ อีกมาก เราจึงจะนำข้อมูลในการเลือกซื้อรถเเละขั้นตอนเก็บเงิน สำหรับใครที่กำลังอยากจะซื้อรถค่ะ
ปัจจัยสำคัญในการเลือกซื้อรถ

รถยนต์คือพาหนะหลักเเละเป็นหนี้ก้อนโตหลายปีในเวลาด้วยกัน การเลือกรถจึงต้องคิดให้ถี่ถ้วน เพื่อไม่เกิดปัญหาทีหลังซึ่ง 2 ปัจจัยหลักที่คุณควรตัดสินใจก่อนเลือกซื้อรถคือ

1. ประเภทรถ

ทุกคนมีเป้าหมายในการซื้อรถไม่เหมือนกัน บางคนชอบรถกระบะ จะได้บรรทุกของชิ้นใหญ่ได้ ส่วนบางคนชอบรถเก๋งเพราะขับง่าย หรือบางคนชอบรถครอบครัวเพราะสมาชิกในบ้านเยอะ เมื่อคุณได้รู้ความต้องการของตัวคุณเองเเล้วคุณจะรู้ว่าประเภทรถเเบบไหนที่เหมาะกับคุณ จะได้วางเเผนการเงินได้ถูก

บทความที่เกี่ยวข้อง

ต่อ ใบขับขี่ ใบรับรอง แพทย์ – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 2 11, 2022

รถยนต์ มี ค รัช – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 2 9, 2022

รับ ซื้อ แม็ ก มือ สอง – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 3 29, 2022

ราคา Triumph – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 2 25, 2022

คอมเพรสเซอร์ แอร์ รถยนต์ ไม่ ทํา งาน – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 2 11, 2022

007 มีกี่ภาค – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 3 4, 2022

รถ โน วา แต่ง สวย ๆ – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 2 14, 2022

ไท ตั้ น 4 ประตู – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 3 28, 2022

Porsche 911 Turbo S 2020 ราคา – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 2 28, 2022

มอ ไซ ค์ Gpx 150 – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 2 12, 2022

วิธี ล้าง กาว ร้อน ติด รถ – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 3 24, 2022

จุด ธูป ไหว้ รถ กี่ ดอก – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 2 24, 2022

หม้อน้ํารั่ว – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 2 25, 2022

ขาย รถ มิ ร่า – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 3 6, 2022

ราคา เว ส ป้า 125 – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 2 4, 2022

ตารางขนาดยางรถยนต์ – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tháng 3 26, 2022

2. ราคา

ราคารถยนต์ เป็นปัจจัยสำคัญที่จะบอกว่าคุณต้องเก็บเงินเท่าไหร่ เเละเเต่ละเดือนต้องเสียอะไรบ้าง โดยเมื่อคุณทราบราคาที่จ่ายไหวเเละประเภทของรถยนต์เเล้ว คุณสามารถนั่งไล่ดูรถเเต่ละเเบรนด์ได้ว่าดีไซน์เเบบไหนที่ถูกใจ ถัดมาก็จะเป็นเรื่องการผ่อน ถือเป็นหนี้สินระยะยาวประมาณ 5-7 ปี คุณจึงต้องจัดสรรค่ารถเเละค่าใช้จ่ายในชีวิตให้สมดุลกัน
ค่าใช้จ่ายเมื่อจะซื้อรถ 1 คัน

ก่อนที่คุณจะซื้อรถยนต์ คุณควรทราบถึงค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นเมื่อซื้อรถยนต์ 1 คัน เพราะไม่ได้มีเเค่เงินดาวน์กับผ่อนรถเท่านั้น เราจึงนำ 6 ค่าใช้จ่ายหลักที่คุณจะต้องเสียเเน่นอน เพื่อให้คุณได้จัดสรรเงินได้อย่างถูกต้อง

1. เงินดาวน์

เงินดาวน์คือเงินก้อนเเรกสำหรับซื้อรถยนต์ ยิ่งดาวน์มากก็ยิ่งผ่อนน้อย ส่วนใครดาวน์น้อยก็ยิ่งผ่อนนานเเถมจะโดนดอกเบี้ยในอัตราที่สูงเล่นงานอีก ซึ่งจริงๆ เเล้วเงินผ่อนควรอยู่ที่ 20-25% ของรายได้ทั้งหมดเพื่อให้การเงินของคุณยังมีสภาพคล่องอยู่ มิฉะนั้นรถยนต์จะเป็นภาระชั้นดีนานถึง 7 ปีเลยทีเดียว
2. ค่าผ่อนรถ

ค่าผ่อนรถเเต่ละท่านไม่เหมือนกันขึ้นอยู่กับเงินดาวน์เเละราคารถ ตัวอย่าง รถยนต์ราคา 500,000 ดาวน์ได้อัตราดอกเบี้ยที่ 3% ระยะเวลาการผ่อน 5 ปี ดาวน์รถที่ 100,000 บาท เเสดงว่าเหลืออีก 400,000 บาทซึ่งค่าใช้จ่ายที่จะเกิดขึ้นมีดังนี้
 

3. ค่าน้ำมัน

ค่าใช้จ่ายส่วนนี้สามารถชดเชยกับค่าเดินทางที่คุณเคยเสียไปซึ่งตกเดือนละ 3,000-4,000 บาท ยังไม่ร่วมค่าทางด่วน ค่าที่จอดรถต่างๆ ที่คุณจะต้องเสียในเเต่ละวัน
4. ค่าต่อทะเบียน

เหมือนภาษีรถยนต์ที่ต้องจ่ายทุกปี เป็นค่าใช้จ่ายภาคบังคับตามกฎหมาย ราคาขึ้นอยู่กับขนาดเเละอายุของรถยนต์
5. ค่าบำรุงรักษา

รถก็เหมือนบ้านที่ต้องเจอความสกปรกในเเต่ละวัน เผลอๆ อาจจะต้องปัดกวาดเช็ดถูมากกว่าบ้านด้วยซ้ำ ไม่ว่าคุณจะให้ร้านหรือทำความสะอาดเองก็ต้องมีใช้จ่ายเพิ่มขึ้นอยู่ดี
6. ค่าประกันรถยนต์

แม้กฎหมายจะไม่ได้บังคับให้ทุกคนที่มีรถยนต์ทำประกัน แต่การทำประกันรถยนต์ก็ยังถือเป็นเรื่องที่ไม่ควรละเลย เพราะเมื่อเกิดอุบัติเหตุอะไรขึ้นกับรถ ประกันรถยนต์สามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายได้มากถึง 100% ถือเป็นการประหยัดเงินจากเหตุไม่คาดฝันได้ ดังนั้น จึงแนะนำว่า เมื่อจะซื้อรถ ก็ควรเผื่อเงินค่าประกันรถยนต์ไว้ด้วย
7 วิธีการเก็บเงินซื้อรถ

เห็นค่าใช้จ่ายในการซื้อรถยนต์เเล้ว เชื่อว่าหลายท่านคงต้องกลับมาวางเเผนการเงินกันใหม่ ว่าเงินที่มีอยู่เพียงพอหรือยัง เพราะในการเลือกซื้อรถยนต์ถ้าคุณซื้อเงินสด ภาระต่างๆ ของคุณก็คงเหลือเเค่ค่าดูเเลรถยนต์ ประกันต่างๆ เเต่ถ้าเกิดการผ่อนชำระจะเกิดค่างวดเพิ่มขึ้นมา ยิ่งคุณใช้เวลาผ่อนชำระนานดอกเบี้ยก็จะเยอะ เราจึงจะมาบอกขั้นตอนการเก็บเงินทั้งเงินดาวน์เงินผ่อน เพื่อซื้อรถยนต์ที่ถูกต้องมาให้ทุกคนได้นำไปใช้กันค่ะ

1. หัก 10% ออกทุกเดือน

วิธีนี้เหมาะสำหรับมนุษย์เดือน เมื่อเงินออกปุ๊ปก็หัก 10% เข้าบัญชีเเยกไว้ห้ามถอนออกมาใช้ซึ่งเป็นวิธีการเก็บก่อนใช้อีกเเบบ ที่ช่วยให้คุณเก็บเงินซื้อรถได้เร็วขึ้นเเละจะส่งผลดีในระยะยาวเพราะครั้งเเรกที่คุณจ่าย จะเป็นค่าเงินดาวน์ที่ถูกหักจาก 10% มาหลายๆ เดือนเเละเมื่อคุณได้รถเเล้ว ก็นำเงิน 10% นี้มาเป็นค่างวดเเทน นอกจากช่วยให้คุณได้รถแล้วยังสร้างนิสัยการเก็บเงินให้คุณอีกด้วย
2. ออมเท่าค่างวด

วิธีนี้เป็นเหมือนการหักดิบสำหรับคนที่ยังคุมค่าใช้จ่ายไม่ได้ โดยการให้เดินเข้าไปในสนามผ่อนรถก่อนผ่อนจริงซะเลย ในเมื่อคุณทราบเเล้วว่าเดือนนึงค่าผ่อนรถในฝันจะต้องจ่ายเท่าไหร่ งั้นลองเสียก่อนจะได้ผ่อนจริงนอกจากจะได้เงินเก็บสำหรับซื้อรถเเล้วยังคอยเตือนคุณว่าจริงๆ เเล้วรายได้ที่คุณมีสามารถผ่อนรถในฝันของคุณได้จริงหรือเปล่า
3. เก็บเเบงค์ 50

วิธีพื้นฐานที่สำเร็จมานักต่อนัก เพราะวันนึงคุณไม่ได้เจอเเบงค์ 50 ทุกวัน การเก็บแบงค์ 50 อาจทำให้การเก็บเงินเป็นเรื่องง่ายก็เเค่ไม่ใช้เเบงค์นี้ พอครบเดือนคุณนำเเบงค์ 50 มารวมกันคุณจะพบว่า 50 บาท สามารถต่อยอดเป็นหลักพันได้และเงินจำนวนนี้สามารถช่วยคุณจ่ายค่างวดรถได้สบายมากขึ้น
4. เก็บเท่าใช้

เพราะยิ่งใช้มากคุณจะยิ่งเก็บน้อยลง เเต่ถ้าคุณใช้เท่ากับเก็บหละ หากจ่ายออกไปเยอะคุณก็มีเงินเก็บเยอะขึ้นเช่นกัน วิธีนี้จะช่วยให้เห็นภาพรวมของรายจ่ายต่อเดือนของคุณด้วยและเป็นอีกข้อดีที่ช่วยให้เห็นความสำคัญของเงินมากขึ้น
5. ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น

วิธีนี้เป็นสิ่งที่ทุกคนควรทำ ของบางอย่างที่อยากได้ต้องถามตัวคุณเองก่อนว่าสำคัญมั้ย ถ้าสำคัญจำเป็นคุณสามารถซื้อได้เลย เเต่ถ้าใจคุณอยากได้อย่างเดียวไม่ใช่ของจำเป็นเเละไม่เกิดการยับยั้งชั่งใจไว้ ก็เป็นเรื่องยากที่คุณจะจ่ายค่างวดรถได้อย่างสบายใจไม่กระทบการใช้เงินในชีวิต
6. ลงทุนในกองทุนรวม

เหมาะสำหรับเงินดาวน์ โดยผู้เริ่มต้นเเนะนำให้ซื้อ
กองทุนตลาดเงินหรือตราสารหนี้
เพราะความเสี่ยงปานกลางค่อนข้างต่ำ ทางเลือกการลงทุนที่ให้ผลตอบเเทนที่สูงกว่าเงินฝาก หากกังวลว่าไม่ถนัดด้านลงทุนเเนะนำให้นำเงินไปฝาก
บัญชีฝากประจำปลอดภาษี
เพื่อจะช่วยให้คุณได้เงินก้อนที่ตั้งใจไว้
7. ฝากเงินประจำระยะสั้น

ถ้าคุณลองมาหมดทุกวิธีเเล้วเเต่ยังไงก็เก็บไม่ได้ เเนะนำให้ธนาคารเก็บให้ โดยเป็นการฝากประจำระยะสั้น บางธนาคารจะมีเงินขั้นต่ำกำหนดไว้ จะช่วยให้คุณมีกรอบระเบียบในการเก็บเงินมากขึ้น โดยกรุงศรีเองก็มีบัญชีเงิน
ออมทรัพย์มีแต่ได้
ที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่าเงินฝากประจำแบบธรรมดา เพียงฝากเงินทุกเดือน จำนวนเท่ากับที่ฝากเดือนแรกติดต่อกัน 6 เดือน คุณก็จะได้รับดอกเบี้ยพิเศษสูงถึง 0.50% ซึ่งถือเป็นวิธีกระตุ้นให้คุณอยากออมเงินมากขึ้นและสร้างวินัยการออมที่เข้มแข็ง
 
การจะมีรถยนต์สักหนึ่งคันคงไม่ยาก ถ้าหากคุณจัดระบบการเก็บเงินที่ดีซึ่งเเผนเเต่ละคนมีไม่เหมือนกัน เช่น บางคนซื้อสดเลยเพราะไม่อยากมีภาระ บางคนเลือกจะผ่อนนานถึงเเม้จะเสียดอกเบี้ยสูงเเต่ก็เต็มใจเพราะสะดวกสบายไม่ต้องหาเงินก้อนเยอะๆ และบางคนเลือกจะจะดาวน์สูงๆ ผ่อนสบายเสียดอกเบี้ยไม่มาก ซึ่งวิธีเก็บเงินซื้อรถทั้งหมดเป็นคำเเนะนำให้ทุกคนได้เก็บเงินซื้อรถกัน จะได้ไม่ต้องกังวลเรื่องภาระที่จะตามมาหลังจากมีรถหนึ่งคัน นอกจากนี้กรุงศรีมี
ให้บริการสินเชื่อ เช่าซื้อรถยนต์
เพื่อให้คุณมีรถยนต์ในฝันกับการเงินที่ดีไปพร้อมๆ กัน
 

ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ 7 วิธีการเก็บเงินซื้อรถที่ถูกต้อง…

1. รายจ่ายประจำ

เป็นรายจ่ายที่เราต้องจ่ายทุกเดือนหรือทุกปี
ค่าผ่อนรถรายเดือน เป็นรายจ่ายก้อนใหญ่ที่เราจะต้องจ่ายทุกเดือนและหักเงินดาวน์รถออกไปแล้ว จำนวนเงินผ่อนในแต่ละเดือนนั้นจะคิดแบบอัตราดอกเบี้ยคงที่ คือ เงินต้นรวมกับดอกเบี้ยรถใหม่แล้วหารจำนวนเดือนที่จะผ่อน อย่าพึ่งมึนกับตัวเลขเพราะตอนนี้มีโปรแกรมช่วยเราคิดให้แล้ว
ตัวอย่าง เราต้องการซื้อรถคันใหม่ราคา 600,000 บาท มีเงินดาวน์รถ 300,000 บาท ผ่อน 60 เดือน อัตราดอกเบี้ย 5% เราก็ใส่ตัวเลขลงในโปรแกรมแล้วกด “เริ่มคำนวณ” ข้างล่างจะเป็นตัวเลขยอดจัดเช่าซื้อ (กู้ยืมเงิน) 300,000 บาท ผ่อน 60 เดือน ๆ ละ 6,250 บาท

คำนวณได้ที่: เครื่องมือคำนวณสินเชื่อรถยนต์
ช่วงนี้หลายคนอาจจะเห็นโปรโมชัน “ดาวน์น้อยผ่อนนาน” มาเป็นตัวกระตุ้นให้เราอยากซื้อรถ เพราะวางเงินดาวน์รถและจ่ายรายเดือนน้อย ๆ ก็ได้รถมาขับแล้ว แต่ใจเย็น ๆ ก่อนนะคะ ลองดูตัวเลขในตารางข้างล่างนี้เราจะเห็นความน่ากลัวของดอกเบี้ยจ่ายทั้งหมด (ตัวสีแดง)

จากตัวอย่างเดิม : เปรียบเทียบการเช่าซื้อ (กู้ยืมเงิน) มากและน้อย โดยใช้เวลาผ่อน 60 เดือน  

ถ้าใช้เงินดาวน์รถ 300,000 บาทและเช่าซื้อ (น้อย) 300,000 บาท เราเสียดอกเบี้ยทั้งหมด 75,000 บาท
ถ้าใช้เงินดาวน์รถ 50,000 บาทและเช่าซื้อ (มาก) 550,000 บาท เราเสียดอกเบี้ยทั้งหมด 137,540 บาท
ความคุ้มค่าของรถญี่ปุ่นมีตั้งแต่การช่วยประหยัดน้ำมันมากที่สุด หรือใช้เครื่องยนต์ดีที่สุด อย่างรถ Mitsubishi Lancer หรือรถสปอร์ตนิสสันรุ่น GT-R ที่ใช้เครื่องยนต์แรงและดีระดับโลก อีกตัวอย่างหนึ่ง คือ ระบบเซนเซอร์ป้องกันการชนของโตโยต้า (Toyota Safety Sense) ที่มีเซนเซอร์ไวและแม่นยำ โดยใช้เซนเซอร์ถึง 2 ระบบ เพื่อสามารถให้เซนเซอร์ทำงานได้ทุกสถานการณ์ ไม่ว่าจะเป็นยามอากาศไม่ดีหรือยามค่ำคืน
การเปรียบเทียบนี้จะทำให้รู้ว่า จากโปรโมชันที่ค่ายรถยนต์ออกมายั่วยวนใจเรานั้น ตอนแรกเราอาจจะรู้สึกดีที่ผ่อนจ่ายรายเดือนรวมกับดอกเบี้ยรถใหม่แล้วเป็นเงินเล็ก ๆ น้อย ๆ แต่ความจริงแล้วเราควรดูภาพรวมว่า เราเสียเงินทั้งหมดเท่าไหร่ จะได้วางแผนการซื้อว่า จะใส่เงินดาวน์รถน้อยหรือมาก ผ่อนจ่ายสั้นหรือยาว

รถทุกคันจะต้องมี พ.ร.บ. ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายที่ต้องจ่ายทุกปี เป็นการทำประกันภัยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 จ่ายปีละ 600 บาท
รายจ่ายค่าต่อทะเบียน ค่าภาษีรถยนต์เป็นรายจ่ายที่จะต้องจ่ายทุกปี โดยมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ย 1,500-6,000 บาทต่อปี ขึ้นอยู่กับขนาดรถ ถ้ารถขนาดใหญ่ต้องเสียภาษีแพงขึ้น
ประกันภัยรถยนต์ เป็นการโอนความเสี่ยงให้กับบริษัทประกันภัยรับผิดชอบ โดยมีให้เลือกประกันชั้น 1-3 ซึ่งรายละเอียดนั้นขึ้นอยู่กับโปรโมชันของแต่ละบริษัท ยิ่งรถมีราคาแพง ค่าเบี้ยประกันก็แพงเช่นกัน (จากตัวอย่างราคารถยนต์ 600,000 บาท ค่าเบี้ยประกันชั้น 1 ประมาณปีละ 15,000 บาท)
ค่าเชื้อเพลิง (ค่าน้ำมัน, ค่าแก๊ส) ขึ้นอยู่กับราคาน้ำมันในขณะนั้นและลักษณะการใช้งาน ซึ่งส่วนใหญ่จะเฉลี่ยอยู่ที่ 3,000 บาทต่อเดือน

2. รายจ่ายทั่วไป

นอกจากเงินดาวน์รถและเงินผ่อนรวมกับดอกเบี้ยรถใหม่ที่เราต้องจ่ายเป็นประจำทุกเดือนแล้ว ยังมีค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษารถ ตกแต่งและอำนวยความสะดวกในการเดินทางต่าง ๆ เช่น ค่าเปลี่ยนยาง (ทุก 2 ปี หรือ 50,000 กิโลเมตร) เข้าศูนย์ตรวจสภาพรถยนต์ ค่าที่จอดรถ (ในห้างสรรพสินค้า, ออฟฟิศใจกลางเมือง) ค่าทางด่วน ค่าล้างรถ ค่าตกแต่งรถ ค่าปรับที่ทำผิดกฎจราจร เป็นต้น
เราจะผ่อนรถไหวไหม?

เมื่อเราเห็นตัวเลขค่าใช้จ่ายในการผ่อนรถแล้ว บางครั้งเกิดความรู้สึกว่าเราจะผ่อนไหวไหม เพราะมันต้องผ่อนต่อเนื่องกันหลายปี ทั้งเงินต้นและดอกเบี้ยรถใหม่ ถ้าอยากรู้ก็ต้องทดลองด้วยการ “ซ้อมออมเงิน” เราประมาณยอดหนี้คร่าว ๆ ว่าจะต้องจ่ายเดือนละเท่าไหร่ก็ซ้อมออมเท่านั้น เพื่อจะได้รู้ว่าตนเองจะปรับลักษณะการใช้ชีวิตให้เข้ากับจำนวนเงินที่น้อยลงได้หรือไม่ จะได้ไม่ต้องผ่อนจริงเจ็บจริง

ตัวอย่างเดิม: เราจะซื้อรถคันใหม่ราคา 600,000 บาท เช่าซื้อ (กู้เงินมาซื้อ) 300,000 บาท ผ่อน 60 เดือน อัตราดอกเบี้ย 5% ประมาณค่าใช้จ่ายรายเดือนเท่าไหร่

ผ่อนเดือนละ 6,250 บาท รวมดอกเบี้ยรถใหม่เข้าไปแล้ว
ค่าน้ำมันเดือนละ 3,000 บาท
ค่า พ.ร.บ. + ค่าต่อทะเบียน + ค่าประกันภัยรถยนต์ จ่ายรายปีแต่เราเฉลี่ยเก็บรายเดือน เดือนละ 1,450 บาท

รวม: ประมาณค่าใช้จ่ายรายเดือน คือ 10,700 บาท (ยังไม่รวมรายจ่ายทั่วไป)
เราแยกบัญชีซ้อมออมเงินไว้ต่างหาก อาจจะเป็น “บัญชีออมทรัพย์ดอกเบี้ยสูง” เมื่อเงินเดือนเข้ามาปุ๊บก็สั่งโอนไปเก็บที่บัญชีนี้ทันทีเดือนละ 10,700 บาท สมมติว่าเราใช้เวลาซ้อม 1 ปีถึงจะปรับตัวกับเงินที่ใช้น้อยลงได้ ค่อยตัดสินใจซื้อรถ
การซ้อมออมเงินได้ประโยชน์ 2 เด้ง คือคือ

เด้งที่ 1 เรามีเงินไปดาวน์รถเพิ่มขึ้น 10,700 x 12 = 128,400 บาท ทำให้เรากู้ยืมเงินน้อยลง และเสียดอกเบี้ยลดลงด้วย
เด้งที่ 2 เวลา 1 ปีผ่านไป ราคารถที่เราอยากได้มันจะมีราคาลดลง ทำให้เราประหยัดเงินมากขึ้นอีกด้วย

เมื่อเราจำเป็นจะต้องซื้อรถ นอกจากหาข้อมูลของรถแล้วยังจะต้องประมาณค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกิดขึ้นด้วย เพื่อจะได้วางแผนการซื้อและซ้อมออมเงินเพื่อดาวน์รถ ผ่อนรถ ปรับวิธีการใช้ชีวิต และเตรียมความพร้อมก่อนการสร้างหนี้จริง
ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ คำนวณค่าใช้จ่ายและดอกเบี้ยรถใหม่สำหรับเจ้าของรถ…

รู้จักการ ‘วางเงินดาวน์’ สำหรับการผ่อนรถครั้งแรก
สินค้าชิ้นใหญ่ชิ้นแรกๆ ในชีวิตของคนส่วนใหญ่ก็คงจะเป็นรถยนต์ ซึ่งราคาก็ค่อนข้างใหญ่ตามตัวของมันตั้งแต่หลักแสนไปจนถึงหลักล้าน ใครที่หน้าที่การงานดีหรือมีเงินถุงเงินถังก็คงเลือกที่จะ “ซื้อสด” ได้ไม่ยาก แต่สำหรับคนทั่วไปอย่างเราๆ การจะเก็บหอมรอมริบเพื่อซื้อรถทีเดียวก็ดูจะเป็นเรื่องที่ไกลตัวมากๆ แต่สถาบันการเงินก็มีทางเลือกสำหรับการ “ซื้อผ่อน” ให้คนอย่างเราๆ เหมือนกัน
แต่การซื้อผ่อนของรถยนต์ไม่ได้เหมือนกับการรูดบัตรเครดิตผ่อนสินค้าทั่วๆ ไป ที่เมื่อวงเงินเราถึงก็จัดการแบ่งจ่ายเป็นงวดๆ แล้วเสียดอกเบี้ยตามแต่ละบัตร แต่เป็นการวางเงินดาวน์ไว้ส่วนหนึ่งของราคารถและนำส่วนที่เหลือไปกู้เงินจากทางสถาบันการเงิน (บริษัทไฟแนนซ์) แทน ซึ่งอย่างตัวผู้เขียนที่ไม่ได้ศึกษาเรื่องการวางเงินดาวน์มาก่อนก็เริ่มต้นไม่ถูกเหมือนกัน บทความนี้เลยขอมาอธิบายเป็นขั้นตอนไปสำหรับคนที่สนใจให้เข้าใจเรื่องการดาวน์รถกันมากขึ้น มาดูกันเลย
วางเงินดาวน์ และจัดไฟแนนซ์
วางเงินดาวน์และจัดไฟแนนซ์เป็นค่าใช้จ่าย 2 ส่วนสำหรับการซื้อผ่อนรถยนต์ โดยเงินดาวน์จะเป็นเงินก้อนหนึ่งของราคารถ (นิยมวาง 25% ของราคารถ) และค่าใช้จ่ายส่วนที่เหลือจะถูกนำไปกู้กับทางสถาบันการเงิน (ไฟแนนซ์) ที่จะถูกแบ่งจ่ายออกเป็นงวดๆ ตามตกลง และคิดดอกเบี้ยตามระยะเวลาที่ทำการกู้เงินที่เรียกว่ายอดจัดไฟแนนซ์

ราคารถยนต์

เงินดาวน์
ยอดจัดไฟแนนซ์ (แบ่งจ่ายเป็นงวด)

วางเงินดาวน์เท่าไหร่ดี?
เราสามารถวางเงินดาวน์ได้มากหรือน้อยตามกำลังทรัพย์ของเราไม่มีกำหนดตายตัวว่าต้องมากกว่าหรือไม่เกินกี่เปอร์เซ็นต์ของราคารถ แต่ลักษณะจะเป็นการยื่นข้อเสนอเจรจาระหว่างเรากับทางไฟแนนซ์มากกว่า หากวางเงินดาวน์น้อยไปไฟแนนซ์ก็จะมองว่าเราอาจจะจ่ายหนี้ไม่ไหว หรือหากวางสูงเกินไปดอกเบี้ยก็จะถูกไม่คุ้มค่าดำเนินการและถูกปฏิเสธเอาได้
ในเบื้องต้นคือเราควรมีเงินก้อนไว้สำหรับดาวน์รถ 25% ของราคารถ (ถ้ารถราคา 500,000 บาท เงินดาวน์ก็จะอยู่ที่ 125,000 บาท) ซึ่งยิ่งเราวางดาวน์ได้สูง ภาระต่อเดือนในการจ่ายค่างวดรวมทั้งดอกเบี้ยก็จะลดลงอีกด้วย ถ้าอยากวางดาวน์สูงๆ ก็ต้องลองคุยกับพนักงานขายรถ (เซลล์ขายรถ) หรือไฟแนนซ์ดู
สำหรับคนที่มีความจำเป็นที่ต้องวางดาวน์น้อยกว่า 25% จริงๆ ก็ต้องไปดูที่โปรโมชั่นของผู้จำหน่ายในแต่ละแบรนด์ที่ให้วางดาวน์ 10 – 15% หรือ 0% ก็มี แต่ก็จะต้องแลกกับดอกเบี้ยที่สูงมากและการผ่อนที่ยาวนานกว่า
ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ การวางเงินดาวน์รถใหม่ ต้องใช้อะไรบ้าง เรื่องที่มือใหม่ผ่อนรถยนต์ต้องรู้ !…

1.แบล็กลิสต์ ถ้าติดก็ปิดก่อน
ก่อนจะหารถตามสเป็ค เช็คตัวเองก่อน ว่ามีประวัติเสียในเครดิตบูโรหรือเปล่า เช่น เคยผิดนัดชำระหนี้บัตรเครดิต เพราะถ้ามีจะต้องทำเรื่องปิดให้เรียบร้อยก่อน และทิ้งระยะเวลาให้นานกว่า 2 ปี จึงจะเริ่มผ่อนรถได้ แนะนำ! ถ้าอยากซื้อเลย ต้องนำใบปิดเรื่องมายื่นกับไฟแนนซ์ และวางเงินดาวน์ก้อนใหญ่ประมาณ 40% ขึ้นไป โดยไฟแนนซ์จะพิจารณาเป็นกรณีไปแล้วแต่ความรุนแรง
2.เตรียมเอกสาร แบบมืออาชีพ
ถ้าไม่มีประวัติหรือปิดเรียบร้อยแล้ว ก็เริ่มเตรียมเอกสารสำคัญได้เลยโดยเราขอแยกชุดเอกสาร สำหรับพนักงานประจำ และ อาชีพอิสระ ดังนี้
พนักงานประจำ
– สำเนาบัตรประชาชน และ สำเนาทะเบียนบ้าน อย่างละ 3 ใบ
– สลิปเงินเดือน (สลิปคาร์บอน) ย้อนหลัง 6 เดือน หากไม่มี ให้ใช้ใบรับรองเงินเดือน
– สมุดบัญชีเงินเดือน ย้อนหลัง 6 เดือน เพื่อดูความสามารถในการชำระหนี้
หากไม่ค่อยได้อัพบุ๊ค สามารถใช้ Statement (ย้อนหลัง 6 เดือน) ที่ขอจากธนาคารได้เช่นกัน
อาชีพอิสระ (เช่น ค้าขาย)
– สำเนาบัตรประชาชน และ สำเนาทะเบียนบ้าน อย่างละ 3 ใบ (ข้อนี้เหมือนพนง.ประจำ)
– ใบเสร็จ ใบส่งของ หลักฐานการซื้อขายทุกอย่าง ต้องเก็บไว้ยื่นไฟแนนซ์ ยิ่งครบ ยิ่งผ่านง่าย
– รูปถ่ายหน้าร้าน พร้อมใบเสร็จค่าเช่าที่ หรือ ภาพเพจ Facebook, IG หากขายของทางออนไลน์
– Statement หรือ รายการเดินบัญชีย้อนหลัง 1 ปี เพื่อแสดงฐานรายได้ที่มั่นคง
แนะนำ! ควรมีรายรับก้อนใหญ่เข้าทุกเดือน และมีรายได้เล็กๆน้อยๆ สม่ำเสมอทุกสัปดาห์ ข้อควรระวังคือ เมื่อมีเงินเข้า อย่าเพิ่งถอนออกจนหมดทันที ให้ทยอยถอนใช้ทีละนิดในวันอื่น และเหลือเงินคงค้างติดบัญชีไว้ประมาณ 10% จะดูน่าเชื่อถือที่สุด
ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ ผ่อนรถมือหนึ่ง ต้องคำนึงถึง 4 สิ่งนี้ – Sunday Blog…

ศึกษาวิธีการผ่อนรถ
ข้อควรรู้เบื้องต้นคือ เราควรมีเงินดาวน์รถยนต์ประมาณ 25% ของราคารถที่จะซื้อ ไม่เช่นนั้น ทางบริษัทไฟแนนซ์หรือสถาบันการเงินจะไม่อนุมัติการผ่อนชำระ และอีกกรณีหนึ่งคือ ถ้าผู้ที่มีรายได้ต่อเดือนน้อยหรือมีเงินเดือนไม่ถึงหลักหมื่นบาท ก็อาจจะถูกปฏิเสธการผ่อนชำระได้เช่นกัน สาเหตุคือ ค่าผ่อนอาจจะสูงเกินไปเมื่อเทียบกับรายได้ต่อเดือน
ซึ่งวิธีการคำนวณดอกเบี้ยเงินกู้สำหรับรถยนต์นั้น จะเป็นวิธีการคิดแบบ “Flat Rate” หรือ ดอกเบี้ยคงที่ คือการรวมเงินต้นและดอกเบี้ยเข้าด้วยกัน และแบ่งเป็นงวดๆ ให้เราจ่ายจำนวนนี้ไปแต่ละงวด
ตัวอย่าง ถ้าเราจะซื้อรถราคา 500,000 บาท เราวางดาวน์ไว้ 150,000 บาท จะต้องกู้เพิ่ม 350,000 บาท ดอกเบี้ย 5% ต่อปี ระยะเวลา 4 ปี (หรือ 4 งวด)
แสดงว่าเราต้องเสียดอกเบี้ยเป็นจำนวน 350,000*5% = 17,500 บาทต่อปี
ระยะ 4 ปี เราต้องจ่ายดอกเบี้ยทั้งหมด 17,500*4 = 70,000 บาท
ทำให้เราเป็นหนี้ธนาคารทั้งหมด 350,000+70,000 = 420,000 บาท 
ซึ่งเราต้องจ่ายปีละ 105,000 บาทต่อปี หรือ 8,750 บาทต่อเดือน
ข้อควรรู้อีกข้อ คือ การผ่อนรถไม่เหมือนกับการผ่อนบ้าน เพราะการผ่อนรถเป็นการชำระตายตัว มีการคิดดอกเบี้ยที่ต้องจ่ายล่วงหน้าไว้แล้ว นั่นก็คือ เรายังต้องจ่ายทั้งหมด 420,000 บาทอยู่ดี ถึงแม้ว่าเราจะมีเงินมาโปะยอดค้างทั้งหมด และหวังว่าจะไม่ต้องจ่ายดอกเบี้ยในงวดต่อไปเพราะเราชำระหนี้ค้างไว้หมดแล้ว ซึ่งกรณีนี้จะเหมือนการผ่อนบ้านที่คิดแบบดอกเบี้ยแบบลดต้นลดดอก หรือ Effective Rate ซึ่งถ้าเราสามารถจ่ายยอดค้างได้ทั้งหมดก่อนการชำระงวดต่อไป เราก็ไม่มีความจำเป็นต้องจ่ายดอกเบี้ยในอนาคตแล้ว หมายความว่า ถ้าเป็นการผ่อนบ้าน ยิ่งเราสามารถผ่อนได้เร็วขึ้น เรายิ่งลดค่าใช้จ่ายเรื่องดอกเบี้ยได้มากยิ่งขึ้น 
และที่สำคัญคือ ในกรณีที่เราค้างค่างวดเป็นเวลา 3 เดือนติดต่อกัน เพราะเรามีปัญหาหมุนเงินไม่ทัน ผ่อนรถต่อไม่ไหวแล้ว ทางฝ่ายไฟแนนซ์จะเข้ามาติดต่อเพื่อหาทางออกเรื่องการค้างชำระ แต่ถ้าภายใน 30 วันยังไม่สามารถตกลงได้ ผลลัพธ์คือ เราจะต้องโดนยึดรถนั่นเอง แต่เรื่องไม่จบเพียงแค่นี้เท่านั้น เพราะหลังจากการยึดรถ ไฟแนนซ์จะนำรถนั้นไปขายทอดตลาด และหากราคารถที่ถูกขายได้น้อยกว่าจำนวนเงินที่เราค้างชำระ ทางไฟแนนซ์ก็จะตามค่าส่วนต่างกับเรากับอยู่ดี ทางที่ดี เราควรจ่ายค่างวดให้ครบและตรงเวลาในทุกๆ เดือนเพื่อลดปัญหาที่จะตามมาภายหลัง และต้องคิดดีๆ ว่าที่เรากู้เงินไปซื้อรถ ‘เราสามารถผ่อนไหวไหม?’
ดังนั้น เราสามารถสรุปได้ว่า ยิ่งเราวางเงินดาวน์น้อย และระยะผ่อนนาน ดอกเบี้ยที่เราจะต้องจ่ายก็ยิ่งสูง ฉะนั้น ถ้าเรายิ่งสามารถวางเงินดาวน์ไว้สูงเท่าไหร่ และระยะผ่อนสั้น เราก็จะจ่ายดอกเบี้ยน้อยลง และสามารถปลดหนี้ได้เร็วมากยิ่งขึ้น หรือถ้าเรามีเงินสดเพียงพอ ก็ควรซื้อไปเลย เพื่อจะได้ไม่ต้องจ่ายดอกเบี้ยเลย และสามารถลดค่าใช้จ่ายส่วนนี้ได้อีกด้วย
การวางแผนการเงินเพื่อซื้อรถ
หลังจากที่เราศึกษาข้อควรรู้ก่อนซื้อรถยนต์และวิธีการผ่อนรถไปแล้ว เมื่อลองประเมินแบบเร็วๆ เราต้องมีเงินก้อนประมาณ 200,000 บาทเพื่อดาวน์รถ และเงินที่ต้องจ่ายรายเดือนก็อยู่ที่ประมาณ 10,000 กว่าบาท ซึ่งค่าใช้จ่ายนี้ก็แปรผันตามยี่ห้อและรุ่นของรถ ยิ่งรถแพง ค่าใช้จ่ายก็แพงขึ้นตาม
ดังนั้นเพื่อให้เราถึงฝันรถคันแรกนี้ เราก็ควรวางแผนการเงิน แต่ว่าจำนวนเงินมันดูเยอะนะสำหรับมนุษย์เงินเดือนธรรมดาๆ อย่างเรา คำถามในหัวของทุกคนคงจะเป็น ‘เป้าหมายไกลจัง… จะทำได้หรือเปล่านะ?’
เพื่อให้ถึงเป้าหมายของเรา เราก็มีวิธีที่สามารถทำให้เราครอบครองรถคันแรกของเราได้เร็วขึ้น วิธีนั้นก็คือ ‘การลงทุน’ ซึ่งเรามั่นใจว่าวิธีเบื้องต้นสำหรับคนที่อยากมีรถก็คือ การออมเงิน แต่อย่าลืมว่า การออมอย่างเดียว อาจจะทำให้เราสามารถซื้อรถได้ตามต้องการแต่ก็นาน เพราะเงินไม่มีการเติบโตด้วยการเก็บอย่างเดียวหรือโตช้าด้วยดอกเบี้ยธนาคาร แต่ถ้าเราเอาเงินเก็บของเราไปลงทุนด้วย เงินของเราก็จะโตเร็วขึ้นกว่าเดิม เราก็จะถึงเป้าหมายเร็วขึ้นกว่าเดิมด้วย 
ถึงแม้ภาพในหัวของใครหลายๆ คนคงคิดว่า ‘การลงทุนเหรอ… ฟังแล้วลำบากเนอะ’ แต่จริงๆ แล้วการลงทุนไม่ใช่สิ่งที่ยากและลำบากเลย สมัยนี้ตัวช่วยเรามีเยอะแยะ
ขอยกตัวอย่าง แผน GOAL ของ FINNOMENA ที่ถูกสร้างมาสำหรับผู้ที่มีเป้าหมายการลงทุนเพื่อการเก็บเงินก้อน และจะจัดพอร์ตตามวัตุประสงค์ ตามระยะเวลาในการลงทุน และเป้าหมายการลงทุนที่แตกต่างกันไป อย่างเช่น การซื้อรถยนต์ ซื้อบ้าน แต่งงาน มีเงินเกษียณ เป็นต้น โดยเน้นการลงทุนแบบ Dollar Cost Average (DCA) เป็นการทยอยลงทุนสะสมในทุกๆ เดือน ซึ่งความพิเศษของแผน GOAL นี้ ก็คือ Wealth Path ที่ช่วยคำนวณความเป็นไปได้ในการลงทุนผ่านโมเดลทางการเงินที่สามารถพยากรณ์โอกาสทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตว่า ‘ถ้าเรามีเงินลงทุนตั้งต้นอยู่ที่ 50,000 บาท โดยมีเงินลงทุนสะสมทุกเดือนที่ 10,000 บาท ด้วยความเสี่ยงระดับที่เราเลือกต่ำสุด ภายในระยะเวลา 5 ปีที่เรากำหนด เราจะสามารถมีเงินถึงเป้าหมายเราได้หรือไม่ผ่านการลงทุน’
และหากใครกังวลว่า เราต้องนั่งเฝ้าพอร์ตของเราตลอดเวลารึเปล่า? จริงๆ แล้วพอร์ตของเราจะได้รับคำแนะนำและดูแลโดยผู้เชี่ยวชาญตลอดเวลา ดังนั้น ไม่ต้องเป็นห่วง! 
หากใครสนใจรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการลงทุนตามเป้าหมายด้วยแผน GOAL สามารถเข้าไปดูรายละเอียดได้ที่ /goal/ หรือคลิกที่แบนเนอร์ข้างล่างได้เลย

คำเตือน
ผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลสำคัญของกองทุนโดยเฉพาะนโยบายกองทุน ความเสี่ยง และผลการดำเนินงานของกองทุน โดยสามารถขอข้อมูลจากผู้แนะนำก่อนตัดสินใจลงทุน |  ผลการดำเนินงานในอดีตมิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลการดำเนินงานในอนาคต | ผู้ลงทุนอาจมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากการป้องกันความเสี่ยงขึ้นอยู่กับดุลพินิจของผู้จัดการกองทุน

ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ อยากผ่อนรถ ควรรู้อะไรบ้าง? แล้วจะวางแผนเก็บเงินซื้อรถอย่างไรดี? – FINNOMENA…

ศัพท์ควรรู้เบื้องต้นก่อนผ่อนรถ
ก่อนจะถึงการคำนวณค่างวดรถ เงินติดล้อขอบอกก่อนเลยว่าในขั้นตอนการผ่อนจะมีคำศัพท์ยากๆ ที่หลายๆ คนอาจไม่คุ้นเคยมาก่อน เพราะฉะนั้นควรรู้คำศัพท์เบื้องต้นก่อนจะเริ่มผ่อนรถยนต์สักคันกันก่อน
จัดไฟแนนซ์ หมายถึง การขอสินเชื่อจากสถาบันการเงินเพื่อซื้อรถยนต์ในกรณีที่คุณไม่มีเงินก้อนมากพอจะจ่ายเงินเพื่อซื้อรถในคราวเดียว ซึ่งจะเป็นผู้ดำเนินการจ่ายเงินก้อนนี้ให้กับบริษัทรถยนต์ และคุณจะต้องผ่อนชำระให้กับทางสถาบันเงินเป็นงวดๆ ไป
เงินดาวน์ หมายถึง เงินก้อนแรกที่คุณจะต้องจ่ายในการผ่อนรถ ซึ่งส่วนที่เหลือจะผ่อนส่งพร้อมๆ กับดอกเบี้ยเป็นงวดๆ ไปจนครบกำหนด
ยอดจัด หมายถึง ยอดเงินที่คุณจัดยืมจากไฟแนนซ์และต้องผ่อนส่ง เช่น รถยนต์ราคา 500,000 หากคุณวางเงินดาวน์ 100,000 บาท จะมียอดจัดจากไฟแนนซ์ 400,000 นั่นเอง ซึ่งยอดจัดนี้จะเป็นจำนวนเงินที่จะนำมาคำนวณหาดอกเบี้ยที่คุณจะต้องจ่าย
ดอกเบี้ยแบบคงที่ หมายถึง ดอกเบี้ยที่มีการคิดคำนวณเอาไว้แล้วล่วงหน้า แล้วนำเงินจำนวนนั้นมารวมกับเงินต้นที่เหลือผ่อนจ่ายในแต่ละเดือน แม้ว่าจะมีเงินก้อนมาโปะเพิ่ม คุณก็ยังต้องจ่ายดอกเบี้ยทั้งหมดที่มีอยู่ดี

ผ่อนรถ 1 คัน คำนวณอะไรบ้าง
เมื่อตัดสินใจเลือกรถยนต์ที่คุณต้องการได้แล้ว ทีนี้มาดูกันเลยว่าในการผ่อนรถ 1 คันจะต้องคำนวณอะไรบ้าง ดังนี้!
สูตรการคำนวณผ่อนรถ
นำราคารถ – เงินดาวน์ = ยอดจัดไฟแนนซ์
นำยอดจัดไฟแนนซ์ x เปอร์เซ็นต์อัตราดอกเบี้ย (เช่น 5% หรือ 6% ซึ่งอัตราดอกเบี้ยของแต่ละที่ไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับศูนย์จัดจำหน่ายและระยะเวลาการผ่อน)
นำยอดรวมของดอกเบี้ยและยอดจัดมา ÷ กับจำนวนปีที่ต้องการจะผ่อน = ดอกเบี้ยทั้งหมดที่ต้องจ่าย (เช่น 2 ปี หรือ 3 ปี)
นำดอกเบี้ยทั้งหมดที่ต้องจ่าย + ยอดจัดไฟแนนซ์ = ยอดทั้งหมดที่ต้องจ่ายจริง
นำยอดทั้งหมดที่ต้องจ่ายจริง ÷ จำนวนเดือนที่ผ่อน (เช่น 24 เดือน หรือ 36 เดือน) = ค่างวดในแต่ละเดือน
โดยวิธีการคำนวณค่าผ่อนรถนี้ คุณสามาถใช้ได้ทั้งรถยนต์และรถมอเตอร์ไซค์
ตัวอย่าง รถที่คุณจะซื้อราคา 500,000 บาท หากคุณวางเงินดาวน์ 30% หรือ 150,000 บาท จะมียอดจัดทั้งหมด 350,000 บาท
หากคุณเลือกผ่อนชำระเป็นระยะเวลา 48 งวด (หรือ 4 ปี) ในอัตราดอกเบี้ย 5% ต่อปี จะมีวิธีคำนวณดังนี้
ดอกเบี้ย 5% ของ 350,000 บาท เท่ากับ 350,000 x 5% = 17,500 บาทต่อปี
ในระยะเวลา 4 ปีจะต้องจ่ายดอกเบี้ยรวมทั้งสิ้น 17,500 x 4 = 70,000 บาท
เมื่อรวมเข้ากับยอดจัด 350,000 บาท เท่ากับคุณมียอดรวมที่จะต้องจ่ายทั้งหมด 350,000 + 70,000 = 420,000 บาท
สรุปแล้ว คุณต้องจ่ายทั้งหมดเดือนละ 420,000 ÷ 48 = 8,750 บาท นั่นเอง

ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ วิธีคำนวณผ่อนรถ: ช่วยวางแผนการเงินให้สบายขึ้น…

คำสำคัญที่ผู้ใช้ค้นหาเกี่ยวกับหัวข้อ การ ดาวน์ รถยนต์

การวางเงินดาวน์ ออกรถ, ผ่อนรถเดือนละ 5000 ต้องดาวน์เท่าไหร่, ดาวน์รถเท่าไหร่, การดาวน์รถ คือ, ขั้นตอนการซื้อรถใหม่ 2564, ตารางดาวน์รถ, ซื้อรถยนต์, การดาวน์รถมอเตอร์ไซค์

ดูข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อด้วย %%% title %%% คุณสามารถค้นหาหัวข้อเกี่ยวกับรถยนต์เพิ่มเติมได้ที่นี่ เช่น ข่าวรถยนต์ล่าสุด

ดังนั้นเราจึงได้อัปเดตข้อมูลที่ได้รับความนิยมมากที่สุดเกี่ยวกับ การ ดาวน์ รถยนต์ ในช่วงเวลาที่ผ่านมา หวังว่าข้อมูลนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับคุณ คุณ

ขอบคุณที่รับชมครับ กรุณาเยี่ยมชมบ่อยสำหรับการปรับปรุงเพิ่มเติม! โปรดกดไลค์ กดแชร์ แสดงความคิดเห็นด้านล่างเพื่อแจ้งให้เราทราบว่าคุณต้องการอะไร!
.u13a3339447778c4533d1f64dd2a61e05 { padding:0px; margin: 0; padding-top:1em!important; padding-bottom:1em!important; width:100%; display: block; font-weight:bold; background-color:inherit; border:0!important; border-left:4px solid inherit!important; text-decoration:none; } .u13a3339447778c4533d1f64dd2a61e05:active, .u13a3339447778c4533d1f64dd2a61e05:hover { opacity: 1; transition: opacity 250ms; webkit-transition: opacity 250ms; text-decoration:none; } .u13a3339447778c4533d1f64dd2a61e05 { transition: background-color 250ms; webkit-transition: background-color 250ms; opacity: 1; transition: opacity 250ms; webkit-transition: opacity 250ms; } .u13a3339447778c4533d1f64dd2a61e05 .ctaText { font-weight:bold; color:#F1C40F; text-decoration:none; font-size: 16px; } .u13a3339447778c4533d1f64dd2a61e05 .postTitle { color:inherit; text-decoration: underline!important; font-size: 16px; } .u13a3339447778c4533d1f64dd2a61e05:hover .postTitle { text-decoration: underline!important; } ดูเพิ่มเติม:  ไฟ หน้า วี โก้ – เว็บไซต์ชั้นนำสำหรับข้อมูลและคำแนะนำในการซื้อ-ขายรถยนต์

Tagschobrod

About Lê Lan Ánh

Check Also

NewJeans เปิดตัว MV ในธีม: เพลงที่ติดหูแต่แฝงข้อความสุขภาพจิต สมาชิก “แมว” สวยมาก!

หลังจากที่เพลงเปิดตัว “Ditto” ทำลายชาร์ตเพลงดิจิตอลทั้งหมด NewJeans ก็ปล่อยเพลงไตเติ้ล “OMG” และอัลบั้มชื่อเดียวกันอย่างเป็นทางการในบ่ายวันที่ 3 มกราคม สีสันใหม่ที่ NewJeans ดึงดูดความสนใจในทันที Music Video OMG …

Trả lời

Email của bạn sẽ không được hiển thị công khai. Các trường bắt buộc được đánh dấu *